หน่วยสมรรถนะ
เตรียมการประเมิน
สาขาวิชาชีพบริการการศึกษา วิจัย และภาษา
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | ILS-NCYN-342B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | เตรียมการประเมิน |
3. ทบทวนครั้งที่ | N/A |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
N/A |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
N/A |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) |
---|---|
1011.1 ตรวจสอบหน่วยสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพที่จะทำการประเมิน |
1. ระบุและแยกแยะสมรรถนะมาตรฐานอาชีพที่ต้องประเมินได้อย่างครบถ้วน
2. เข้าใจความหมายของนิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในมาตรฐานอาชีพ
3. รวบรวมข้อมูลด้านกฎ ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานอาชีพ
4. ประยุกต์ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ให้เข้าสู่ขั้นตอนการปฏิบัติ |
1011.2 ตรวจสอบและแนะนำรายการหลักฐานประกอบการประเมินที่ต้องใช้สำหรับมาตรฐานอาชีพที่จะดำเนินการประเมิน |
1. ระบุหลักฐานประกอบการประเมินที่ต้องการเพื่อการประเมินได้ครบถ้วน สอดคล้องกับสมรรถนะที่ต้องการประเมิน
2. แนะนำและสนับสนุนการนำเอาหลักฐานและ/หรือความสามารถจากประสบการณ์ของผู้เข้ารับการประเมินมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการประเมิน
3. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าหลักฐานประกอบการประเมินเป็นผลงานของผู้เข้ารับการประเมิน
4. คัดเลือก และประเมินหลักฐานประกอบการประเมินจากบุคคลอื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผลงานของผู้เข้ารับการประเมิน |
1011.3 ตรวจสอบวิธีการ กระบวนการและบริบทในการประเมิน |
1. กำหนดเวลา ซักซ้อมกระบวนการ วิธีการประเมินและการใช้เครื่องมือกับทีมเจ้าหน้าที่สอบ ตามคู่มือการประเมินมาตรฐานอาชีพ
2. ตรวจสอบกระบวนการ บริบทและวิธีการให้เป็นไปตามคู่มือเจ้าหน้าที่สอบตามที่สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพได้กำหนด
3. ตรวจสอบวิธีการประเมินให้สามารถยืดหยุ่น สอดคล้องกับลักษณะและความถนัดของผู้เข้ารับการประเมิน |
1011.4 ตรวจสอบเครื่องมือในการประเมิน |
1. เข้าใจข้อความในเครื่องมืออย่าง ถูกต้อง สื่อความหมายให้เข้าใจได้ตรงกัน
2. ตรวจสอบเครื่องมือให้เกิดความมั่นใจในการใช้ประเมินได้อย่างเป็นธรรม ปลอดภัย และมีประสิทธิผล
3. ใช้เครื่องมือในการประเมินได้อย่างเหมาะสมและยืดหยุ่น สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับวิธีการประเมินและสภาพจริงในการประเมินอย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดแนวทางของเครื่องมือประเมิน |
1011.5 จัดทำแผนเพื่อเตรียมการประเมิน |
1. เตรียมแผนงานครอบคลุมกระบวนการ และขั้นตอนการประเมินสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพอย่างครบถ้วนและชัดเจน
2. กำหนดผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน
3. แสดงแผนงานที่มีรายละเอียดในการประเมินที่โปร่งใส ชัดเจน เพื่อให้ผู้เข้ารับการประเมินเข้าใจได้โดยง่าย |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ความรู้ในสาขาอาชีพที่จะทำการประเมินและทักษะที่มีต้องสูงกว่าคุณวุฒิของผู้เข้ารับการประเมิน |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ • ทักษะในการตีความ (ข) ความต้องการด้านความรู้ • จริยธรรมและแนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่สอบของ สคช. |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |||||||||||||||
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
วิธีการประเมิน ต้องคำนึงถึง วิธีการประเมินที่มีความเที่ยงตรง และเชื่อถือได้ มีความคุ้มค่า ถูกกำหนดขึ้นอย่างเป็นธรรมแก่ผู้เข้ารับการประเมิน เปรียบเทียบวิธีการประเมินแบบต่างๆ เพื่อระบุจุดแข็ง จุดอ่อน และการประยุกต์ใช้งาน
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
- ข้อเขียน |