หน่วยสมรรถนะ
ดูแลสวนยางพาราหลังเปิดกรีดจนถึงโค่น
สาขาวิชาชีพเกษตรกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | ARC-TVDX-926A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ดูแลสวนยางพาราหลังเปิดกรีดจนถึงโค่น |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ผู้ปฏิบัติงานด้านระบบการจัดการสวนยางพาราอย่างยั่งยืน 1 6112 ผู้ปฏิบัติงานด้านการปลูกไม้ยืนต้นและไม้ผล |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวข้องกับการดูแลสวนยางพาราหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นต้นยางพารา โดยผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ต้องมีความรู้ความเข้าใจในประเภท สูตรปุ๋ย วิธีการใส่ปุ๋ยและปริมาณในการใส่ปุ๋ยที่ใช้ดูแลส่วนยางพาราในช่วงเปิดกรีดจนถึงโค่นต้นยางพารา วิธีการดูแลรักษาโรคยางพาราในระยะเปิดกรีดได้ ชนิด และวิธีการกำจัดวัชพืชในสวนยางพาราช่วงเปิดกรีด รวมถึงประเภทและวิธีการกำจัดวัชพืชแต่ละชนิดในสวนยางพาราช่วงเปิดกรีด และมีทักษะได้แก่ สามารถกำหนด และเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการใส่ปุ๋ยยางพาราช่วงเปิดกรีดได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนสามารถใส่ปุ๋ยยางพาราในช่วงเปิดกรีดได้อย่างถูกต้อง สามารถระบุโรค สาเหตุของโรค และวิธีการป้องกันกำจัดโรคยางาราในระยะหลังเปิดกรีดได้อย่างถูกต้อง สามารถกำหนดและเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการกำจัดวัชพืชในสวนยางพาราหลังเปิดกรีดได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มอาชีพเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ ผู้ปฏิบัติงานด้านเพาะปลูกยางพารา |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
ISCO 6112 ผู้ปฏิบัติงานด้านการปลูกไม้ยืนต้นและไม้ผล |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) |
---|---|
B231 ใส่ปุ๋ยยางพาราหลังเปิดกรีด |
1. อธิบายประเภทของปุ๋ยที่ใช้ดูแลสวนยางพาราในช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นได้
2. อธิบายสูตรปุ๋ยหรือเกรดปุ๋ยที่ใช้ดูแลสวนยางพาราในช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นได้
3. อธิบายวิธีการใส่ปุ๋ยที่ใช้ดูแลสวนยางพาราในช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นได้
4. อธิบายปริมาณในการใส่ปุ๋ยที่ใช้ดูแลสวนยางพาราในช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นได้
5. เลือกวัสดุอุปกรณ์ในการใส่ปุ๋ยยางพาราในช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นได้อย่างถูกต้อง
6. ดำเนินการใส่ปุ๋ยยางพาราในช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นได้อย่างถูกวิธี |
B232 ป้องกันและรักษาโรคยางพาราในช่วงเปิดกรีด |
1. ระบุโรคที่เกิดกับยางพาราในระยะหลังเปิดกรีดได้
2. ระบุสาเหตุของโรคยางพาราที่เกิดกับยางพาราในระยะหลังเปิดกรีดได้
3. ระบุวิธีป้องกันโรคที่เกิดกับยางพาราในระยะหลังเปิดกรีดได้อย่างถูกวิธี
4. อธิบายวิธีดูแลรักษาโรคยางพาราในระยะหลังเปิดกรีดได้อย่างถูกวิธี |
B233 กำจัดวัชพืชในช่วงเปิดกรีด |
1. อธิบายชนิดของวัชพืชในสวนยางพาราได้
2. อธิบายวิธีการป้องกันกำจัดวัชพืชได้
3. อธิบายประเภทและวิธีกำจัดวัชพืชแต่ละชนิดในสวนยางพาราช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกวิธี
4. กำหนดวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการกำจัดวัชพืชในสวนยางพาราช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นได้อย่างถูกต้อง
5. เลือกวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการกำจัดวัชพืชในสวนยางพาราช่วงหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นได้
6. ดำเนินการกำจัดวัชพืชในสวนยางพาราช่วงเปิดกรีดจนถึงโค่นได้อย่างถูกวิธี
7. ดำเนินการดูแลบำรุงรักษาวัสดุอุปกรณ์หลังจากการใช้งานได้อย่างถูกต้อง |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
1) ความต้องการปุ๋ยของต้นยางหลังเปิดกรีด |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1) มีทักษะในการคิดวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์ การทดสอบ และการสรุปผลดูแลสวนยางพาราหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นต้นยางพารา (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1) มีความรู้ในการใส่ปุ๋ยยางพาราหในสวนยางพาราหลังเปิดกรีดจนถึงโค่นต้นยางพารา |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) ทักษะและความรู้ที่ต้องการ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1) ประเมินจากแบบสอบข้อเขียน |