หน่วยสมรรถนะ
ประนอมข้อพิพาทที่เกี่ยวกับการเมืองหรือนโยบายของรัฐ
สาขาวิชาชีพธุรกิจบริการ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | PET-KTPR-022B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ประนอมข้อพิพาทที่เกี่ยวกับการเมืองหรือนโยบายของรัฐ |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
N/A |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพธุรกิจบริการ สาขางานประนีประนอมข้อพิพาท |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
10.1. พระราชบัญญัติไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.2562 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) |
---|---|
1010701 เตรียมความพร้อมก่อนวันประนอมข้อพิพาท |
1.1 ศึกษาข้อมูลคำเสนอขอประนอม เพื่อทราบรายละเอียดเหตุพิพาท และตรวจสอบว่ามีผู้เสียหายที่แท้จริงจำนวนมากหรือไม่
1.2 ศึกษานโยบายการเมืองหรือนโยบายภาครัฐ รวมถึงการดำเนินงานภาครัฐที่เป็นเหตุพิพาท รวมถึงข้อกฎหมายที่เป็นฐานในการกระทำให้เกิดข้อพิพาท
1.3 พิจารณาว่าควรมีการตรวจสอบพื้นที่พิพาทจริงก่อนวันประนอม เพื่อให้รับทราบข้อเท็จจริงที่ผู้เข้าร่วมประนอมทั้งแต่ะฝ่ายจะนำเสนอในวันประนอมข้อพิพาท |
1010702 ควบคุมประเด็นในการประนอมและรักษาบรรยากาศการประนอม |
2.1 พิจารณาว่าผู้เข้าร่วมประนอมคนใดเป็นผู้เสียหายโดยตรง
2.2 หากมีผู้เสียหายจำนวนมาก จัดให้ผู้เข้าร่วมประนอมแต่งตั้งผู้แทนเข้าร่วมเจรจาในการประนอม
2.3 ตรวจสอบว่ามีหนังสือแต่งตั้งหรือมอบอำนาจให้ผู้แทนมีอำนาจในการเข้าร่วมประนอมและตัดสินใจ
2.4 มั่นตรวจสอบว่าผู้แทน คงมีอำนาจอยู่และเป็นที่รับการยอมรับของผู้เข้าร่วมประนอมทั้งหมดอยู่
2.5 ตรวจสอบหน่วยงานรัฐที่พิพาท และพิจารณาว่าหน่วยงานใดเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการออกหรือใช้อำนาจตามนโยบายหรือการดำเนินภาครัฐตามจริง
2.6 แจ้งให้เจ้าหน้าที่ประสานงานเชิญเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่มีอำนาจตัดสินใจ เข้าร่วมในการประนอม |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
มีความรู้และทักษะของสมรรถนะดำเนินกระบวนการประนอมข้อพิพาทตามระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงาน |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. การฟังเชิงรุก Active Listening (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการประนอมข้อพิพาทอย่างน้อย 7 ประการ และอธิบายสิ่งที่ต้องดำเนินการในแต่ละขั้นตอนได้ 2. มีความรู้เกี่ยวกับระเบียบหรือข้อบังคับตามที่ระบุในข้อ 10 หรือหน่วยงานที่ส่งเสริมกระบวนการประนอมและไกล่เกลี่ย |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
14.1 หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
15.1.ประนอมข้อพิพาทที่เกี่ยวกับการเมืองหรือนโยบายของรัฐ 15.2. คำว่า “ผู้เข้าร่วมประนอม” 15.11. ขั้นตอนการประนอมข้อพิพาท 7 ประการ สิ่งที่ต้องดำเนินการ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
เจ้าหน้าที่สอบพิจารณาหลักฐานจากแฟ้มสะสมผลงานที่เป็นเอกสารรับรองผลงาน รับรองความรู้ความสามารถที่ผ่านมาก่อนหน้า ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะนี้ หากชัดเจนหรือมีปริมาณเพียงพอให้เชื่อถือได้ ให้รับรองผลการประเมินสมรรถนะของหน่วยนี้ได้ |