หน่วยสมรรถนะ
ประนอมข้อพิพาทที่ต้องการความเชี่ยวชาญพิเศษ
สาขาวิชาชีพธุรกิจบริการ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | PET-CSWK-020B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ประนอมข้อพิพาทที่ต้องการความเชี่ยวชาญพิเศษ |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
N/A |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพธุรกิจบริการ สาขางานประนีประนอมข้อพิพาท |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
10.1. พระราชบัญญัติไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.2562 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) |
---|---|
1010501 เตรียมความพร้อมก่อนวันประนอมข้อพิพาท |
1.1 ศึกษาข้อมูลจากคำขอประนอมข้อพิพาทและเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการประนอม
1.2 ประสานงานให้เจ้าหน้าที่ สอบถามผู้เข้าร่วมประนอมยินดีที่จัดทำคำชี้แจงหรือนำส่งเอกสารเพิ่มเติม เพื่อให้ผู้ประนอมเตรียมความเข้าใจในการรับฟังข้อเท็จจริง |
1010502 ควบคุมประเด็นในการประนอมและรักษาบรรยากาศการประนอม |
2.1 ช่วยเหลือให้ผู้เข้าร่วมประนอมระบุความสัมพันธ์ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง และช่วยการอธิบายรายละเอียดข้อพิพาทให้ง่ายขึ้น และหมั่นตรวจสอบว่าผู้เข้าร่วมประนอมทุกฝ่ายเข้าใจข้อมูลตรงกันหรือไม่
2.2 จับประเด็นข้อเท็จจริง และทบทวนข้อเท็จจริงได้อย่างเหมาะสม
2.3 วิเคราะห์ จัดลำดับ ความสำคัญของประเด็นปัญหาเพื่อกำหนดประเด็นข้อพิพาทได้อย่างเหมาะสม
2.4 มีความเข้าใจข้อเท็จจริงและข้อมูลทางเทคนิคที่ผู้ร่วมประนอมแต่ละฝ่ายนำเสนอ และสามารถอธิบายหรือสรุปให้ผู้เข้าร่วมประนอมอีกฝ่ายหนึ่งเข้าใจได้ง่ายและเป็นลำดับ
2.5 กำหนดกรอบเวลาในการอธิบายข้อพิพาทแต่ละประเด็นควบคุมให้ผู้เข้าร่วมประนอมพยายามให้หลีกเลี่ยงอธิบายประเด็นปลีกย่อยอันจะทำให้การประนอมข้อพิพาทล่าช้าหรือเสียหาย |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
มีความรู้และทักษะของสมรรถนะดำเนินกระบวนการประนอมข้อพิพาทตามระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงาน |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. การฟังเชิงรุก Active Listening (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการประนอมข้อพิพาทอย่างน้อย 7 ประการ และอธิบายสิ่งที่ต้องดำเนินการในแต่ละขั้นตอนได้ 2. มีความรู้เกี่ยวกับระเบียบหรือข้อบังคับตามที่ระบุในข้อ 10 หรือหน่วยงานที่ส่งเสริมกระบวนการประนอมและไกล่เกลี่ย |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
14.1 หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
15.1. ประนอมข้อพิพาทที่ต้องการความเชี่ยวชาญพิเศษ 15.12. เทคนิคการประนอมข้อพิพาทอย่างน้อย 7 ประการ
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
เจ้าหน้าที่สอบพิจารณาหลักฐานจากแฟ้มสะสมผลงานที่เป็นเอกสารรับรองผลงาน รับรองความรู้ความสามารถที่ผ่านมาก่อนหน้า ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะนี้ หากชัดเจนหรือมีปริมาณเพียงพอให้เชื่อถือได้ ให้รับรองผลการประเมินสมรรถนะของหน่วยนี้ได้ |