หน่วยสมรรถนะ
สอบเทียบเครื่องมือวัดขั้นกลาง
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | TAA-YXXF-167B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | สอบเทียบเครื่องมือวัดขั้นกลาง |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
01CH3 ผู้สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี ชั้น 3 1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถสอบเทียบเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH meter) เครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้า (Conductivity meter) และเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (UV-Vis spectrophotometer) ตามขั้นตอนวิธีการสอบเทียบที่ห้องปฏิบัติการจัดทำขึ้น พร้อมทั้งสามารถคำนวณผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ สาขาวิชาชีพมาตรวิทยา อาชีพผู้สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) |
---|---|
01CH3101 เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. สามารถเลือกใช้วัสดุอ้างอิงให้เหมาะสมกับเครื่องมือวัดที่ต้องการสอบเทียบ 2. เตรียมความพร้อมเครื่องมือวัด เครื่องมือมาตรฐานและวัสดุอ้างอิง 3. ตรวจสอบความถูกต้องของวัสดุอ้างอิง 4. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะแวดล้อมของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 5. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือวัดที่ต้องการสอบเทียบ 6. กรอกรายละเอียดของเครื่องมือวัด เครื่องมือมาตรฐานและวัสดุอ้างอิง ในแบบบันทึกได้ถูกต้อง |
01CH3102 ปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. ปฏิบัติตามขั้นตอนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี 2. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะของวัสดุอ้างอิง 3. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะแวดล้อม |
01CH3103 บันทึกผลการสอบเทียบ และคำนวณผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. บันทึกข้อมูลสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี 2. การคำนวณและการใช้เครื่องมือคำนวณ 3. สามารถใช้ค่าของวัสดุอ้างอิง จากใบรายงานผลการทดสอบ/สอบเทียบ |
01CH3101 เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. สามารถเลือกใช้วัสดุอ้างอิงให้เหมาะสมกับเครื่องมือวัดที่ต้องการสอบเทียบ 2. เตรียมความพร้อมเครื่องมือวัด เครื่องมือมาตรฐานและวัสดุอ้างอิง 3. ตรวจสอบความถูกต้องของวัสดุอ้างอิง 4. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะแวดล้อมของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 5. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือวัดที่ต้องการสอบเทียบ 6. กรอกรายละเอียดของเครื่องมือวัด เครื่องมือมาตรฐานและวัสดุอ้างอิง ในแบบบันทึกได้ถูกต้อง |
01CH3102 ปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. ปฏิบัติตามขั้นตอนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี 2. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะของวัสดุอ้างอิง 3. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะแวดล้อม |
01CH3103 บันทึกผลการสอบเทียบ และคำนวณผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. บันทึกข้อมูลสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี 2. การคำนวณและการใช้เครื่องมือคำนวณ 3. สามารถใช้ค่าของวัสดุอ้างอิง จากใบรายงานผลการทดสอบ/สอบเทียบ |
01CH3101 เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. สามารถเลือกใช้วัสดุอ้างอิงให้เหมาะสมกับเครื่องมือวัดที่ต้องการสอบเทียบ 2. เตรียมความพร้อมเครื่องมือวัด เครื่องมือมาตรฐานและวัสดุอ้างอิง 3. ตรวจสอบความถูกต้องของวัสดุอ้างอิง 4. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะแวดล้อมของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 5. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือวัดที่ต้องการสอบเทียบ 6. กรอกรายละเอียดของเครื่องมือวัด เครื่องมือมาตรฐานและวัสดุอ้างอิง ในแบบบันทึกได้ถูกต้อง |
01CH3102 ปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. ปฏิบัติตามขั้นตอนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี 2. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะของวัสดุอ้างอิง 3. ปฏิบัติตามข้อกำหนดการควบคุมสภาวะแวดล้อม |
01CH3103 บันทึกผลการสอบเทียบ และคำนวณผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี |
1. บันทึกข้อมูลสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี 2. การคำนวณและการใช้เครื่องมือคำนวณ 3. สามารถใช้ค่าของวัสดุอ้างอิง จากใบรายงานผลการทดสอบ/สอบเทียบ |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. เลือกใช้วัสดุอ้างอิง ถูกต้องและเหมาะสมต่อการใช้งาน 2. เตรียมความพร้อมของเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH meter) เครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้า (Conductivity meter) และ เครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (UV-Vis spectrophotometer) 3. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือมาตรฐาน และวัสดุอ้างอิง 4. อ่านค่าเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH meter) เครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้า (Conductivity meter) และ เครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (UV-Vis spectrophotometer) 5. สอบเทียบเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH meter) เครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้า (Conductivity meter) และ เครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (UV-Vis spectrophotometer) 6. ใช้ค่าของวัสดุอ้างอิงจากใบรายงานผลการทดสอบ/สอบเทียบ 7. ใช้เครื่องมือคำนวณ หรือ โปรแกรมคำนวณ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. มีความรู้ และความเข้าใจหลักการทำงานและขั้นตอนการสอบเทียบของเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH meter) เครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้า (Conductivity meter) และเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (UV-Vis spectrophotometer) 2. มีความรู้ และความเข้าใจวิธีการใช้งานและอ่านค่าของเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH meter) เครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้า (Conductivity meter) และเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (UV-Vis spectrophotometer) รวมถึงการทำความสะอาด และการเคลื่อนย้าย 3. มีความรู้ และความเข้าใจวิธีการเลือกใช้วัสดุอ้างอิง ให้เหมาะสมกับงาน รวมถึงการดูแลรักษา การจัดเก็บ และการขนย้าย 4. มีความรู้ในการบันทึกข้อมูลการสอบเทียบในแบบบันทึกผลและการใช้เครื่องมือคำนวณผล 5. มีความรู้ ทางสถิติและคณิตศาสตร์ เอกสารอ้างอิง 1. ASTM E275 Describing and Measuring Performance of Ultraviolet, Visible, and Near-Infrared Spectrophotometers 2. ASTM E70 Standard Test Method for pH of Aqueous Solutions with the Glass Electrode 3. ASTM D1125 Standard Test Methods for Electrical Conductivity and resistivity of Water |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. บันทึกประวัติการทำงาน 2. บันทึกการมอบหมายงาน 3. รายงานผลการสอบเทียบเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH meter) เครื่องวัดค่าการนำไฟฟ้า (Conductivity meter) และเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (UV-Vis spectrophotometer) (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. ใบรับรองการฝึกอบรม หรือ บันทึกการฝึกปฏิบัติ (On the Job training) โดยมีผู้ลงนามรับรอง 2. บันทึกการสังเกตการปฏิบัติงาน 3. บันทึกผลการทดสอบข้อเขียน (ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการสอบเทียบเครื่องมือด้านเคมีขั้นกลาง โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
1. วิธีการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านเคมี ได้แก่ วิธีการที่ห้องปฏิบัติการจัดทำขึ้นโดยอ้างอิงมาตรฐาน หรือมีการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีแล้วสามารถใช้งานได้ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. สาธิตการปฏิบัติงาน 2. ข้อสอบข้อเขียน 3 .แฟ้มสะสมผลงาน |