หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ติดตั้งและรื้ออุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง

สาขาวิชาชีพหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RAC-SDAG-022B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ติดตั้งและรื้ออุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2562

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพช่างแมคคาทรอนิกส์ ระดับ 3 ระดับ 4  และระดับ 5


6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)

หน่วยสมรรถนะนี้ เป็นหน่วยที่อธิบายถึงความรู้และทักษะที่จำเป็นของช่างแมคคาทรอนิกส์ในการทำติดตั้งและรื้ออุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง โดยจะครอบคลุมถึง การอ่านและเข้าใจความหมายของแบบวงจรไฟฟ้ากำลัง การเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง การเลือกและใช้เครื่องมือช่างในการติดตั้ง การวาง Lay out ของตู้ไฟฟ้าสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ การติดตั้ง รื้อและทำสัญลักษณ์สายไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง การติดตั้งและรื้ออุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังด้วยความปลอดภัย


7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)

สาขาวิชาชีพหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ


9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)

N/A


10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)

N/A


11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria)
ME311 อ่านและเข้าใจความหมายของแบบวงจรไฟฟ้ากำลัง

1.1 อ่านและเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ต่าง ๆ ของแบบวงจรไฟฟ้ากำลังได้

1.2 อ่านและเข้าใจความหมายของการต่อเชื่อมของอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังต่างๆได้

ME312 เลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังชนิดต่างๆ ตามสเปค ที่กำหนดในแบบไฟฟ้ากำลัง

2.1 เข้าใจค่าสเปคของอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น สายไฟ เช่น Magnetic Contactor, Fuse ฯลฯ ตามที่ระบุในแบบได้

ME313 เลือกและใช้เครื่องมือช่างในการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง

3.1 สามารถเลือกเครื่องมือช่างที่ใช้ ในการติดตั้งสายไฟและ ยึดอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ กับตู้ไฟได้

ME314 วาง Lay out ของ ตู้ไฟฟ้าสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง

4.1 วาง Lay out ของอุปกรณ์ไฟฟ้าในตู้ไฟโดยไม่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ของวงจรได้

4.2 ประมาณความยาวของสายไฟ ที่ระบุในแบบได้

ME315 ติดตั้ง รื้อและทำสัญลักษณ์ของสายไฟฟ้ากำลังและอุปกรณ์ต่างๆ

5.1 สามารถทำสัญลักษณ์ของสายไฟฟ้าที่ต้นสายและปลายสายด้วยเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อใช้ ในการติดตั้งและรื้อได้

5.2 สามารถทำสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น Magnetic Contactor, Fuse ด้วย

5.3 สามารถติดตั้ง รื้อสายไฟฟ้ากำลังและอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้

ME316 ติดตั้งและรื้ออุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังด้วยความปลอดภัย

6.1 สามารถตัด ดัดและติดตั้งสายไฟฟ้ากำลังได้อย่างปลอดภัย

6.2 สามารถติดตั้งสายไฟฟ้ากำลัง ได้อย่างปลอดภัย


12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

-    ทักษะการดัด ตัดสายไฟฟ้ากำลัง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

-    มาตรฐานการอ่านแบบไฟฟ้ากำลัง
-    ทฤษฎีไฟฟ้ากำลัง
 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
-    บันทึกการปฏิบัติงาน
-    Portfolio
(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
-    ใบบันทึกการอบรมมาตรฐานการอ่านแบบไฟฟ้ากำลัง
-     ใบบันทึกการอบรม ทฤษฎีไฟฟ้ากำลัง
(ค)    คำแนะนำในการประเมิน
    หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยต้องแสดงถึง
    1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง
    2. วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
    3. ขอบเขตด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(ง)    วิธีการประเมิน
    1. สอบข้อเขียนทางทฤษฎี
2. สาธิตการปฏิบัติงาน (ถ้ามี) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการปฏิบัติงานจริง หรือการสังเกตการจำลองการปฏิบัติงานจริง
3. หลักฐานการปฏิบัติงาน (ถ้ามี) เอกสารประกอบการพิจารณาที่เหมาะสม รวมถึง วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน กฎขอบังคับ มาตรการในการฝึกปฏิบัติ คู่มือในการปฏิบัติการ
 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ
N/A
(ข)    คำอธิบายรายละเอียด
    i) ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน (workplace procedures)
-    อ่านแบบวงจรไฟฟ้ากำลัง
-    ทำการเบิกอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังชนิดต่าง ๆ ตามแบบวงจรไฟฟ้ากำลัง
-    เลือกใช้เครื่องมือช่างในการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า
-    วาง Lay out ของตู้ไฟฟ้าสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง
-    ติดตั้ง รื้อและทำสัญลักษณ์ของสายไฟฟ้ากำลังและอุปกรณ์ต่าง ๆ
    ii) สถานที่ทำงาน (work site)
-    ทำความสะอาด บำรุงรักษาและจัดเก็บเครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงระบบ
5 ส และความปลอดภัยในการทำงาน
    iii) สภาวะในการทำงาน (operating conditions)
-    อุปกรณ์ เครื่องมือ ที่ใช้ในการติดตั้งและรื้ออุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง ได้แก่ สว่านมือ ชุดต๊าปเกลียว
คีมปอกสายไฟ คีมเข้าสาย เครื่องพิมพ์หมายเลขสายไฟและอุปกรณ์ ฯลฯ
    iv) ข้อมูล/เอกสาร (information/documents)
-    แบบวงจรไฟฟ้ากำลัง
-    คู่มือการใช้งานเครื่องมือพื้นฐานช่างไฟฟ้ากำลัง


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)

N/A


17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)

N/A


18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1     เครื่องมือประเมิน หน่วยสมรรถนะอ่านและเข้าใจความหมายของแบบวงจรไฟฟ้ากำลัง
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    ประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
3.    หลักฐานการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
18.2     เครื่องมือประเมิน หน่วยสมรรถนะเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังชนิดต่างๆ ตามสเปคที่กำหนดในแบบไฟฟ้ากำลัง
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    ประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
3.    หลักฐานการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
18.3     เครื่องมือประเมิน หน่วยสมรรถนะเลือกและใช้เครื่องมือช่างในการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    ประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
3.    หลักฐานการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
18.4     เครื่องมือประเมิน หน่วยสมรรถนะวาง Lay out ของตู้ไฟฟ้าสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    ประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
3.    หลักฐานการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
18.5     เครื่องมือประเมิน หน่วยสมรรถนะติดตั้ง รื้อและทำสัญลักษณ์ของสายไฟฟ้ากำลังและอุปกรณ์ต่างๆ
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    ประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
3.    หลักฐานการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
18.6     เครื่องมือประเมิน หน่วยสมรรถนะติดตั้งและรื้ออุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังด้วยความปลอดภัย
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    ประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)
3.    หลักฐานการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)


ยินดีต้อนรับ