หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตกแต่งเนื้อในและเข้าเล่มปกแข็งด้วยเครื่อง (casing-in)

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-FOAE-205A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตกแต่งเนื้อในและเข้าเล่มปกแข็งด้วยเครื่อง (casing-in)

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2564

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างทำเล่มหนังสือปกแข็ง 


6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)

หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวกับการทำเล่มปกแข็งด้วยเครื่อง โดยตรวจสอบความถูกต้องของวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และเครื่องจักรในการเข้าเล่มปกแข็งด้วยเครื่อง รวมทั้งสามารถเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการเข้าเล่มปกแข็งด้วยเครื่องสำหรับทำเล่มหนังสือปกแข็งได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย


7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)

ผู้ประกอบวิชาชีพงานหลังพิมพ์


9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)

รหัส ISCO – 08-7323 ช่างตกแต่งงานพิมพ์และเข้าเล่ม (Print Finishing and Binding Workers )


10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria)
405071 เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องเข้าเล่มปกแข็ง

1.1 ตรวจสอบเนื้อในที่ผ่านการตัดเจียนแล้วให้เรียบร้อยก่อนติดผ้ามุ้งและกระดาษปิดสันและเตรียมกาวให้ถูกต้องตามข้อกำหนด (specification)กับชนิดของผ้ามุ้ง กระดาษปิดสัน และคิ้ว

1.2 เตรียมผ้ามุ้ง กระดาษปิดสัน และคิ้วเปิดเครื่องทากาวด้านข้างสัน และเครื่องทากาวสัน ปรับตั้งส่วนป้อนผ้ามุ้งกระดาษปิดสัน และคิ้ว ให้ได้ขนาด และตำแหน่งที่ถูกต้อง

1.3เตรียมปกแข็งให้เรียบร้อยและถูกต้อง

1.4เตรียมกาวและใส่ในอ่างให้ถูกต้องเหมาะสมกับปกแข็ง

1.5ปรับตั้งปริมาณการป้อนกาวให้เหมาะสม

1.6ปรับตั้งขนาดของส่วนป้อนปกแข็งให้ถูกต้องเหมาะสมกับเล่มเนื้อในและป้อนปกแข็งเข้ากับส่วนป้อนให้เรียบร้อย

1.7ปรับตั้งตำแหน่งของร่องปกแข็ง ให้เหมาะสมกับความหนาของเล่มหนังสือและปรับระดับความร้อนให้เหมาะสม เพื่อสร้างร่องปกแข็งให้คงรูป เปิด-ปิดได้ง่ายไม่ยับย่น ไม่ร้อนมากเกินไปจนทำให้ปกแข็งเสียหาย

1.8ปรับตั้งส่วนกดอัดให้ใบผนึกหน้า-หลังของเล่มหนังสือติดแน่นกับปกแข็งได้เรียบไม่มีฟองอากาศ

405072 เข้าเล่มปกแข็งด้วยเครื่อง (casing-in)

2.1ตรวจสอบความเรียบร้อยของการปรับตั้งทุกหน่วยก่อนเดินเครื่อง

2.2เดินเครื่องเข้าเล่มปกแข็งตามระดับความเร็วของเครื่อง โดยไม่มีปัญหาเครื่องสะดุดหยุด และได้รูปเล่มที่ถูกต้อง สวยงาม ไม่เปื้อนเลอะ

405073 บำรุงรักษาเครื่องเข้าเล่มปกแข็งเบื้องต้น

3.1ทำความสะอาดเครื่องเข้าเล่มปกแข็งได้ถูกต้อง

3.2หล่อลื่นตามจุดหล่อลื่นและทำความสะอาดเครื่องตามระยะในแผนการบำรุงรักษาและคู่มือการบำรุงรักษาเครื่อง

405071 เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องเข้าเล่มปกแข็ง

1.1 ตรวจสอบเนื้อในที่ผ่านการตัดเจียนแล้วให้เรียบร้อยก่อนติดผ้ามุ้งและกระดาษปิดสันและเตรียมกาวให้ถูกต้องตามข้อกำหนด (specification)กับชนิดของผ้ามุ้ง กระดาษปิดสัน และคิ้ว

1.2 เตรียมผ้ามุ้ง กระดาษปิดสัน และคิ้วเปิดเครื่องทากาวด้านข้างสัน และเครื่องทากาวสัน ปรับตั้งส่วนป้อนผ้ามุ้งกระดาษปิดสัน และคิ้ว ให้ได้ขนาด และตำแหน่งที่ถูกต้อง

1.3เตรียมปกแข็งให้เรียบร้อยและถูกต้อง

1.4เตรียมกาวและใส่ในอ่างให้ถูกต้องเหมาะสมกับปกแข็ง

1.5ปรับตั้งปริมาณการป้อนกาวให้เหมาะสม

1.6ปรับตั้งขนาดของส่วนป้อนปกแข็งให้ถูกต้องเหมาะสมกับเล่มเนื้อในและป้อนปกแข็งเข้ากับส่วนป้อนให้เรียบร้อย

1.7ปรับตั้งตำแหน่งของร่องปกแข็ง ให้เหมาะสมกับความหนาของเล่มหนังสือและปรับระดับความร้อนให้เหมาะสม เพื่อสร้างร่องปกแข็งให้คงรูป เปิด-ปิดได้ง่ายไม่ยับย่น ไม่ร้อนมากเกินไปจนทำให้ปกแข็งเสียหาย

1.8ปรับตั้งส่วนกดอัดให้ใบผนึกหน้า-หลังของเล่มหนังสือติดแน่นกับปกแข็งได้เรียบไม่มีฟองอากาศ

405072 เข้าเล่มปกแข็งด้วยเครื่อง (casing-in)

2.1ตรวจสอบความเรียบร้อยของการปรับตั้งทุกหน่วยก่อนเดินเครื่อง

2.2เดินเครื่องเข้าเล่มปกแข็งตามระดับความเร็วของเครื่อง โดยไม่มีปัญหาเครื่องสะดุดหยุด และได้รูปเล่มที่ถูกต้อง สวยงาม ไม่เปื้อนเลอะ

405073 บำรุงรักษาเครื่องเข้าเล่มปกแข็งเบื้องต้น

3.1ทำความสะอาดเครื่องเข้าเล่มปกแข็งได้ถูกต้อง

3.2หล่อลื่นตามจุดหล่อลื่นและทำความสะอาดเครื่องตามระยะในแผนการบำรุงรักษาและคู่มือการบำรุงรักษาเครื่อง

405071 เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องเข้าเล่มปกแข็ง

1.1 ตรวจสอบเนื้อในที่ผ่านการตัดเจียนแล้วให้เรียบร้อยก่อนติดผ้ามุ้งและกระดาษปิดสันและเตรียมกาวให้ถูกต้องตามข้อกำหนด (specification)กับชนิดของผ้ามุ้ง กระดาษปิดสัน และคิ้ว

1.2 เตรียมผ้ามุ้ง กระดาษปิดสัน และคิ้วเปิดเครื่องทากาวด้านข้างสัน และเครื่องทากาวสัน ปรับตั้งส่วนป้อนผ้ามุ้งกระดาษปิดสัน และคิ้ว ให้ได้ขนาด และตำแหน่งที่ถูกต้อง

1.3เตรียมปกแข็งให้เรียบร้อยและถูกต้อง

1.4เตรียมกาวและใส่ในอ่างให้ถูกต้องเหมาะสมกับปกแข็ง

1.5ปรับตั้งปริมาณการป้อนกาวให้เหมาะสม

1.6ปรับตั้งขนาดของส่วนป้อนปกแข็งให้ถูกต้องเหมาะสมกับเล่มเนื้อในและป้อนปกแข็งเข้ากับส่วนป้อนให้เรียบร้อย

1.7ปรับตั้งตำแหน่งของร่องปกแข็ง ให้เหมาะสมกับความหนาของเล่มหนังสือและปรับระดับความร้อนให้เหมาะสม เพื่อสร้างร่องปกแข็งให้คงรูป เปิด-ปิดได้ง่ายไม่ยับย่น ไม่ร้อนมากเกินไปจนทำให้ปกแข็งเสียหาย

1.8ปรับตั้งส่วนกดอัดให้ใบผนึกหน้า-หลังของเล่มหนังสือติดแน่นกับปกแข็งได้เรียบไม่มีฟองอากาศ

405072 เข้าเล่มปกแข็งด้วยเครื่อง (casing-in)

2.1ตรวจสอบความเรียบร้อยของการปรับตั้งทุกหน่วยก่อนเดินเครื่อง

2.2เดินเครื่องเข้าเล่มปกแข็งตามระดับความเร็วของเครื่อง โดยไม่มีปัญหาเครื่องสะดุดหยุด และได้รูปเล่มที่ถูกต้อง สวยงาม ไม่เปื้อนเลอะ

405073 บำรุงรักษาเครื่องเข้าเล่มปกแข็งเบื้องต้น

3.1ทำความสะอาดเครื่องเข้าเล่มปกแข็งได้ถูกต้อง

3.2หล่อลื่นตามจุดหล่อลื่นและทำความสะอาดเครื่องตามระยะในแผนการบำรุงรักษาและคู่มือการบำรุงรักษาเครื่อง


12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

อ่านและเขียนภาษาไทยได้  และเข้าใจภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับการทำงานได้ มีประสบการณ์ทำงานด้านหลังพิมพ์


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

มีความสามารถในการเตรียมวัสดุ ปรับตั้งส่วนป้อนกาว ป้อนปก ป้อนเนื้อใน ปรับตั้งต่ำแหน่งร่องปกแข็ง ระดับ
ความร้อน ส่วนกดอัดใบผนึกให้ติดแน่นกับปกแข็งด้วยเครื่องทำปกแข็งได้ถูกต้อง
 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับลักษณะงานและขั้นตอนการเข้าเล่มหนังสือปกแข็งด้วยเครื่อง
2.    ความรู้เกี่ยวกับเครื่องเครื่องเข้าเล่มหนังสือปกแข็ง
 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

      (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1.    บันทึกรายการจากการสังเกต
2.    บันทึกความคิดเห็นของหัวหน้างาน
3.    ผลจากการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์สำหรับการเข้าเล่มหนังสือปกแข็งด้วยเครื่อง ได้ถูกต้องตามใบสั่งงาน
4.    ผลจากการเข้าเล่มหนังสือปกแข็งด้วยเครื่อง ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับงาน
     (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
แบบสัมภาษณ์รายการวัสดุและเครื่องมือที่ต้องเตรียมให้พร้อมสำหรับงานเข้าเล่มปกแข็งด้วยเครื่อง
     (ค) คำแนะนำในการประเมิน
มีการสัมภาษณ์และปฏิบัติตามแบบทดสอบที่กำหนด 
     (ง) วิธีการประเมิน
1.    การประเมินความรู้ โดยใช้การสัมภาษณ์ และการทดสอบโดยข้อสอบ
2.    การประเมินผลการปฏิบัติงานใช้การประเมินจากการสังเกตการณ์ปฏิบัติงานตามแบบทดสอบปฏิบัติที่กำหนด และใบบันทึกความคิดเห็นจากหัวหน้างาน
 


15. ขอบเขต (Range Statement)

      (ก) คำแนะนำ 
    N/A
      (ข) คำอธิบายรายละเอียด
1.    ตรวจสอบเนื้อในหนังสือเป็นตรวจสอบชื่อหนังสือและจำนวนเนื้อในให้ถูกต้องสามารถทำความเข้าใจใบสั่งงานของโรงพิมพ์และนำมาปฏิบัติตามใบสั่งงานได้อย่างถูกต้อง
2.    ทำความเข้าใจลักษณะหนังสือที่จะเข้าเล่มหนังสือปกแข็งจากตัวอย่างหนังสือและนำมาปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
3.    ตรวจสอบชื่อเนื้อในและปกของหนังสือที่จะเข้าเล่มหนังสือปกแข็งให้ตรงกันและถูกต้องตามใบสั่งงาน
4.    จัดเรียงวัสดุและอุปกรณ์ให้พร้อมที่สำหรับการเข้าเล่มหนังสือปกแข็งด้วยเครื่อง ได้อย่างถูกต้อง 
5.    เตรียมเครื่องเข้าเล่มหนังสือปกแข็งด้วย ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6.    ทำความเข้าใจเอกสารข้อมูลความปลอดภัยเครื่องมือ และบำรุงรักษาเครื่องเข้าเล่มหนังสือปกแข็งที่ใช้ได้อย่างถูกต้อง
 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1.    การสัมภาษณ์ 
2.    การทดสอบโดยข้อสอบ 
3.    การสังเกตการณ์ปฏิบัติงานในสภาพจริง หรือสภาวะจำลอง หรือผลงาน
 


ยินดีต้อนรับ