หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตรวจสอบ Checking Fixture (Inspection and Calibration)

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MLD-NSSM-142A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบ Checking Fixture (Inspection and Calibration)

3. ทบทวนครั้งที่ N/A / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)

          ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้ ความสามารถในการตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Inspection และตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Calibration พร้อมทั้งจัดทำรายงานผลลัพธ์ที่ได้หลังการทำ Inspection หรือ Calibration ได้อย่างถูกต้อง


7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)

อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์


9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria)
113CF02.1 ตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Inspection

1.1 ระบุส่วนประกอบของ Checking Fixture ที่จำเป็นต้องตรวจสอบด้วยวิธี Inspection

1.2 เลือกวิธีInspection ที่เหมาะสม

1.3 เตรียม Checking Fixture เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่จำเป็นในการทำ Inspection

1.4 ดำเนินการตรวจสอบหรือประสานงานในการตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Inspection

113CF02.2 ตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Calibration

2.1 ระบุส่วนประกอบของ Checking Fixture ที่จำเป็นต้องตรวจสอบด้วยวิธี Calibration

2.2 เลือกวิธี Calibration ที่เหมาะสม

2.3 เตรียม Checking Fixture เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่จำเป็นในการทำ Calibration

2.4 ดำเนินการตรวจสอบหรือประสานงานในการตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Calibration

113CF02.3 จัดทำรายงานผลลัพธ์ที่ได้หลังการทำ Inspection หรือ Calibration

3.1 จัดทำรายงานผลลัพธ์ที่ได้หลังการทำ Inspection หรือ Calibration

3.2 ระบุแนวทางในการซ่อมบำรุงในกรณีที่ Checking Fixture เกิด Out off spec

113CF02.1 ตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Inspection

1.1 ระบุส่วนประกอบของ Checking Fixture ที่จำเป็นต้องตรวจสอบด้วยวิธี Inspection

1.2 เลือกวิธีInspection ที่เหมาะสม

1.3 เตรียม Checking Fixture เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่จำเป็นในการทำ Inspection

1.4 ดำเนินการตรวจสอบหรือประสานงานในการตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Inspection

113CF02.2 ตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Calibration

2.1 ระบุส่วนประกอบของ Checking Fixture ที่จำเป็นต้องตรวจสอบด้วยวิธี Calibration

2.2 เลือกวิธี Calibration ที่เหมาะสม

2.3 เตรียม Checking Fixture เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่จำเป็นในการทำ Calibration

2.4 ดำเนินการตรวจสอบหรือประสานงานในการตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Calibration

113CF02.3 จัดทำรายงานผลลัพธ์ที่ได้หลังการทำ Inspection หรือ Calibration

3.1 จัดทำรายงานผลลัพธ์ที่ได้หลังการทำ Inspection หรือ Calibration

3.2 ระบุแนวทางในการซ่อมบำรุงในกรณีที่ Checking Fixture เกิด Out off spec


12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบ Jig & Fixture  ชั้น 3


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. การสเก็ตช์แบบงาน
2. การอ่านและเขียนแบบเครื่องกล
3. การสื่อสาร
4. การทำงานเป็นทีม
5. ความสามารถในการแก้ไขปัญหา
6. การเรียนรู้
7. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
8. การใช้เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในการปรับแต่งหรือประกอบ Jig & Fixture
9. การใช้เครื่องมือวัดละเอียดเชิงมิติ
10. การทำงานที่เน้นความปลอดภัย

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ทฤษฎีการเขียนแบบเครื่องกล
2. ทฤษฎีการปรับประกอบชิ้นส่วน
3. ทฤษฎีการวัดและเครื่องมือวัดละเอียดเชิงมิติ
4. วัสดุวิศวกรรม
5. ชิ้นส่วนทางกล ชิ้นส่วนมาตรฐาน และระบบกลไก
6. ระบบอัตโนมัติและการควบคุม
7. Geometric Dimensioning & Tolerancing (GD&T)
8. กรรมวิธีการผลิต
9. เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต
10. กระบวนการปรับปรุงสมบัติและคุณภาพผิวของชิ้นส่วน


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
          1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
          2. แบบงาน Checking Fixture หรือ
          3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
          1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
          2. เอกสารรับรองผลการเรียนหรือผลการอบรม หรือ
          3. แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์ หรือ
          4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคำถามที่ใช้ประเมิน
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
          ผู้ประเมินหน่วยสมรรถนะนี้ สามารถประเมินโดยการพิจารณาร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้
(ง) วิธีการประเมิน
          1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
          2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)
N/A

16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินการตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Inspection
          1. แบบฟอร์มแนวคำถามของประเด็นที่ใช้ในการสัมภาษณ์
          2. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ของผู้ขอรับการประเมิน
          3. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงานของผู้ขอรับการประเมิน
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
18.2 เครื่องมือประเมินการตรวจสอบ Checking Fixture ด้วยวิธี Calibration
          1. แบบฟอร์มแนวคำถามของประเด็นที่ใช้ในการสัมภาษณ์
          2. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ของผู้ขอรับการประเมิน
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
18.3 เครื่องมือประเมินการจัดทำรายงานผลลัพธ์ที่ได้หลังการทำ Inspection หรือ Calibration
          1. แบบฟอร์มแนวคำถามของประเด็นที่ใช้ในการสัมภาษณ์
          2. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ของผู้ขอรับการประเมิน
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน


ยินดีต้อนรับ