ประเมินความต้องการใช้งาน
ประเมินความปลอดภัยเครื่องมือการแพทย์ (Product Safety / Hazard Alerts / Recalls)
รวบรวมคุณสมบัติเครื่องมือแพทย์
เปรียบเทียบคุณสมบัติเครื่องมือแพทย์ขั้นต้นที่เหมาะ สมกับการใช้งาน
เลือกใช้เครื่องมือแพทย์ ได้เหมาะสมตามความต้องการของผู้ใช้
ตรวจสอบการทำงาน และความปลอดภัยของเครื่องมือแพทย์ ก่อนใช้งานกับผู้ป่วยตาม (Operation หรือ Service manual)
ติดตั้ง เครื่องมือแพทย์แบบ Noninvasive ระดับต้น กับผู้ป่วย
ปรับเครื่องมือแพทย์ เพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง ภายใต้คำแนะนำของผู้ควบคุมการรักษา
ตรวจจับปัญหาความผิดปกติระหว่างใช้งานของเครื่องมือแพทย์
วินิจฉัยสาเหตุความผิดปกติของเครื่อมือแพทย์ระหว่างใช้งาน
ควบคุมการทำงานของเครื่องมือแพทย์ระดับต้นในระดับตามระบบควบคุมการติดเชื้อ
รวบรวม ข้อมูลการบำรุงรักษาเครื่องมือ
จัดทำแผนการบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์โดยอ้างอิงแนวทางมาตรฐาน
ตรวจเช็คความสภาพ ความพร้อมเครื่องมือก่อนใช้งาน หรือประจำวัน
บำรุงรักษา ทำความสะอาดเครื่องมือตามมาตรฐานระบบควบคุมการติดเชื้อ
ประเมินและจำแนก อาการชำรุดของเครื่องมือแพทย์เบื้องต้น
วินิจฉัยสาเหตุความผิดปกติของเครื่องมือแพทย์ระดับต้น
แก้ไขความผิดปกติหรือปัญหาจากการทำงานของเครื่องมือแพทย์ระดับต้นตามสาเหตุ
ปรับแก้ ฟังก์ชั่นการทำงานของเครื่องมือที่ผิดปกติให้กลับสู่สภาพปกติ
ให้คำแนะนำในการใช้งาน การดูแล เครื่องมือแพทย์ แก่ผู้ใช้งานอื่นในเบื้องต้น
ให้คำแนะนำในการเฝ้าระวัง (Monitor) และตรวจจับความผิดปกติระหว่างใช้งานเครื่องมือแพทย์แก่ผู้ใช้ งานอื่นในเบื้องต้น
บริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในระดับหน่วยงานให้มีความเพียงพอพร้อมใช้งานตามมาตรฐาน
ประเมินความต้องการของแต่ละหน่วยงานในแต่ละช่วงเวลาและระบุปัญหาความไม่เพียงพอของเครื่องมือแพทย์
รวบรวม ข้อมูลและจัดทำรายงานข้อเสนอการพัฒนาต่อผู้บริหาร
เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria, PC)
แนวทางการประเมินสำหรับผู้ประเมินสมรรถณะย่อยนี้ (Guidance to Assessors of this Element)