ใช้งานคอมพิวเตอร์
ใช้งานอินเทอร์เน็ต
ใช้งานเพื่อความมั่นคงปลอดภัยและมีความเป็นส่วนตัว
กำหนดประเด็นตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายกรอบธรรมาภิบาลและหลักปฏิบัติดิจิทัล
วิเคราะห์ความพร้อมของการปรับสู่องค์กรดิจิทัล
จัดทำนโยบาย และยุทธศาสตร์ดิจิทัลสู่การเป็นองค์กรดิจิทัลที่สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ระดับชาติและแผนยุทธศาสตร์หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กำหนดเป้าหมายและแผนงานการเปลี่ยนผ่านสู่รัฐบาลดิจิทัล (Improving Digital Experiences in Government)
สร้างกลยุทธ์เพื่อเปลี่ยนผ่านสู่วัฒนธรรมการทำงานแบบดิจิทัล
สร้างทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มองปัญหาแบบองค์รวม (Holistic View) โดยคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
สร้างความมีส่วนร่วมและหลักคิด (Mindset) ของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัล
สร้างกลไกและทำให้การขับเคลื่อนสู่รัฐบาลดิจิทัลเป็นหลักปฏิบัติในระดับองค์กร (Institutionalization)
เก็บเกี่ยวความรู้ แนวปฏิบัติที่ดีและผล กระทบของการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรดิจิทัล
ปรับเปลี่ยนรูปแบบแผนกลยุทธ์ขององค์กรให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร (New S-Curve)
สนับสนุนการทำงานในรูปแบบดิจิทัลที่เอื้อต่อการพัฒนางาน และการสร้างนวัตกรรม
เลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
บำรุงรักษาเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีความต่อเนื่อง
ให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล
พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับบุคลากรขององค์กร
จัดการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์
จัดทำแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ พลวัตรปรับต่อเนื่อง
จัดทำซอฟต์แวร์ ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง
ตรวจสอบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์
เข้าใจหลักการของ AI และ Generative AI
ระบุการใช้งาน AI และ Generative AI ในภาครัฐ
นำระบบ AI และ Generative AI ไปใช้
ประกันการใช้งาน AI และ Generative AI อย่างมีจริยธรรม
เข้าใจหลักการของ LLM และ Prompt Engineering
ระบุการใช้งานPrompt Engineering ในภาครัฐ
พัฒนาและปรับแต่งคำสั่งสำหรับ AI
ระบุประเด็นปัญหาและผลกระทบของปัญหาของกระบวนการทำงาน และการให้บริการแบบแยกส่วน
ระบุแนวทางในการแก้ปัญหาและกำหนดกรอบการให้บริการดิจิทัลแบบเชื่อมโยง
จัดทำแผนที่นำทางบริการดิจิทัลแบบเชื่อมโยง
สื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการ ให้บริการแบบเชื่อมโยง
ขับเคลื่อนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการสู่การปฏิบัติ
เข้าใจและอธิบายประสบ การณ์ของผู้ใช้บริการได้ ตลอดกระบวนการให้บริการ แบบเชื่อมโยง (User Experience and User Journey)
ระบุองค์ประกอบของการออกแบบบริการเพื่อความสมบูรณ์ ของการให้บริการ
สร้างพิมพ์เขียวบริการ Service Blueprint สำหรับ พัฒนานวัตกรรมบริการ
กำหนดเป้าหมายของการดำเนินการร่วมกัน
กำหนดกรอบการดำเนินงานร่วมกัน
ออกแบบกระบวนการทำงานของบริการดิจิทัล (Process Design)
ออกแบบองค์กรสำหรับการให้บริการ
พัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัล ด้วยเทคนิคพลวัตรปรับต่อเนื่อง
ประเมินความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ
จัดทำข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงบริการ
ถอดองค์ความรู้เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้ บริการ
กำหนดวิธีการวัดประสิทธิภาพของการให้ บริการดิจิทัล
รวบรวมผลลัพธ์ของจุดให้บริการย่อยต่างๆ
วิเคราะห์ประสิทธิภาพการให้บริการดิจิทัล
กำหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพบริการดิจิทัล
ประเมินความคุ้มค่าในการทำโครงการ (Cost-Benefit Analysis)
เข้าใจวงชีวิตของข้อมูล (Data Lifecycle)
เข้าใจความมั่นคงปลอดภัยและความเป็นส่วนบุคคลของข้อมูล (Data Security and Privacy)
เข้าใจการบูรณาการข้อมูล (Data Integration)
สำรวจชุดข้อมูล
จำแนกข้อมูล
จัดทำคำอธิบายข้อมูล (Meta Data)
จัดทำพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
ประเมินและบริหารคุณภาพของข้อมูล (Data Quality)
รวบรวม และศึกษาบัญชีข้อมูล (Data Catalog)
ดำเนินการจัดทำโครงสร้าง และชนิดข้อมูลให้เป็นไปตามบัญชีข้อมูล (Data Catalog)
เตรียมความพร้อมข้อมูล
วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน
กำหนดวิธีแปลงข้อมูลของหน่วยงานไปสู่รูปแบบมาตรฐาน
ควบคุมคุณภาพสารสนเทศ (Information Quality) และบัญชีข้อมูล (Data Catalog)
กำหนดข้อมูลนำเข้า (Input Data)
กำหนดรูปแบบสมการ/แนวทางวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม
กำหนดรูปแบบการแสดงผลลัพธ์ของการวิเคราะห์ข้อมูล
อธิบายข้อมูล
สํารวจข้อมูล
จัดทำข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการทำงานของหน่วยงานจากข้อมูลสารสนเทศที่ได้
เข้าใจและประเมินข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
ใช้เครื่องมือและเทคนิคเพื่อการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
จัดการและเตรียมข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
สร้างและตีความผลการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
สร้างการนําเสนอข้อมูล
เข้าใจด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของหน่วยงาน
วิเคราะห์บริบทองค์กรเพื่อระบุความเสี่ยงด้านความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร์ของหน่วยงาน
ประเมินความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของหน่วยงาน
วิเคราะห์ความเสี่ยงจากการโจมตีทางไซเบอร์
กำหนดมาตรการป้องกันภัยไซเบอร์ที่เหมาะสม
ตรวจจับภัยไซเบอร์ที่อาจเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมเครือข่าย
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจจับภัยไซเบอร์ที่อาจเกิดขึ้น
วิเคราะห์ความเสี่ยงและผลกระทบของเหตุการณ์ผิดปกติ
พัฒนาแผนการตอบสนองเมื่อ เกิดเหตุการณ์ผิดปกติ
พัฒนาแผนการกู้คืนเมื่อเกิดเหตุการณ์ผิดปกติ
ตรวจสอบและติดตามความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของระบบ คอมพิวเตอร์และเครือข่าย
วิเคราะห์และประเมินผลข้อมูลเพื่อระบุและแก้ไขปัญหาด้าน ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
ใช้โปรแกรมตารางคำนวณ
วิเคราะห์ผลการตรวจสอบ และทบทวนบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
วิเคราะห์องค์กรปัจจุบันเปรียบเทียบกับองค์กรดิจิทัลอนาคต
ออกแบบส่วนประกอบขององค์กรดิจิทัล
ส่งมอบพิมพ์เขียว (Blueprint) องค์กรดิจิทัล
จัดทำแผนลงทุนทรัพยากร
ให้การสนับสนุนทรัพยากร
จัดการทรัพยากรให้บรรลุตามยุทธศาสตร์องค์กรดิจิทัล
กำหนดเป้าประสงค์ของโครงการ
จัดการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ
จัดทำกฏบัตรโครงการ (Project Charter)
วางแผนการดำเนินโครงการ
จัดทำงบประมาณโครงการ และการนำระบบดิจิทัลไปใช้
ส่งเสริมและผลักดันให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรูปแบบการทำงานให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรดิจิทัล
พัฒนาศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้องตลอดกระบวนการเปลี่ยนแปลงสู่การทำงานแบบดิจิทัล
กำกับติดตามกระบวนการเปลี่ยนแปลงสู่การทำงานแบบดิจิทัลและรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
คาดการณ์ ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยง
นำการเปลี่ยนแปลงกระบวนงานสู่การบูรณาการและกระบวนงานอัตโนมัติ
กำหนดกรอบการทำงานองค์กรดิจิทัล
สื่อสารและขับเคลื่อนการบูรณาการทำงานและข้อมูลที่สอดคล้องกับเป้าหมายและนโยบายองค์กรดิจิทัล
เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria, PC)
แนวทางการประเมินสำหรับผู้ประเมินสมรรถณะย่อยนี้ (Guidance to Assessors of this Element)