จัดหาข้อมูล ผู้บริโภคจาก แหล่งข้อมูลขั้นปฐมภูมิและทุติยภูมิ
วิเคราะห์ข้อมูลผู้บริโภคเพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
วิเคราะห์รายการสินค้าที่จะนำเข้าสู่การจัดเก็บในคลังสินค้า
จำแนกประเภทสินค้าเพื่อจัดเก็บในพื้นที่คลังสินค้าที่บริษัทกำหนดไว้
จัดทำรายการสินค้าที่จะนำออกไปจำหน่ายโดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขนส่งสินค้า
วางแผนเส้นทางการขนส่งสินค้าให้เกิดประสิทธิภาพ
ปฏิบัติการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขนส่งสินค้า
วางแผนเส้นทางการขนส่งสินค้าที่ประหยัดต้นทุนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ปฎิบัติตามนโยบายของกิจการทุกด้านโดยใช้เอกสารการตรวจสอบเพื่อความถูกต้อง
เตรียมพื้นที่ไว้รับสินค้า
รับสินค้าไว้ขาย
ใช้อุปกรณ์และกระบวนการปฏิบัติงาน ณ จุดชำระเงิน
สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า
วางแผนการใช้กิจกรรมส่งเสริมทางการตลาดที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ในการส่งเสริมการจำหน่าย
อธิบายความแตกต่างของ ข้อเสนอและการ ส่งเสริมการตลาด เพื่อตอบสนอง กลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกัน
จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรมสนับสนุน งานขาย
จัดทำระบบเอกสารอย่างเป็นไปตามขั้นตอนการสนับสนุนงานขาย
ศึกษากฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคที่หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเป็นผู้บัญญัติและกำหนด
แจ้งผู้บริโภคให้รับทราบในสิทธิการคุ้มครองที่พึงได้ตามกฎหมาย
รู้เงื่อนไขในการรับประกันสินค้าอย่างถูกต้องครบถ้วน
ตรวจสอบสินค้าตามกรอบนโยบายขั้นตอนและเงื่อนไขในการรับประกัน
ตระหนักในแผนการตลาด นโยบายและแผนส่งเสริมการตลาดขององค์กร
ประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรมการตลาดที่กำหนด
เข้าใจระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กร
คัดเลือก Platform กิจกรรมที่เหมะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
รู้เทคนิคการฝึกอบรมด้าน Product Traning
มีความรู้ในผลิตภัณฑ์หรือบริการและกระบวนการขายสินค้าอย่างครบถ้วนถูกต้อง
จัดเตรียมเอกสารประกอบการขายอย่างครบถ้วนและถูกต้อง
ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร
ระบุประเภทของกิจกรรมและรายละเอียดที่ต้องการเพื่อให้ความรู้ด้านตัวสินค้า
สื่อสารและประชาสัมพันธ์กับผู้เกี่ยวข้องในงานขาย
ประเมินผลและรายงานผลกิจกรรมที่จัดแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
กำหนดหลักสูตรการฝึกอบรมให้ตรงวัตถุประสงค์และระดับความรู้ของผู้รับการฝึกอบรม
จัดร่างหลักสูตรและวิธีการขั้นตอนการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
จัดเตรียมอุปกรณ์ สถานที่ที่ใช้ในการฝึกอบรม
พิจารณาจัดทำเครื่องมือประเมินที่เหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหาหลักสูตร
กำหนดเกณฑ์การประเมินทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
วิเคราะห์ผลการประเมินตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้
กำหนดความต้องการขององค์กรด้านทรัพยากรทางธุรกิจ
คัดกรองระบบ ERP ที่เหมาะสมตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับระบบ IT ขององค์กร
กำหนดตัวบุคลากรผู้มีคุณสมบัติดูแลระบบ ERP
รวบรวมปัญหาเรื่องร้องเรียนจากหน่วยงานต่างๆ ขององค์กร
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับปัญหาร้องเรียน ของเรื่องร้องเรียนตามนโยบายที่หน่วยงานกำหนด
ประเมินความต้องการสินค้าหรือบริการเพื่อเตรียมการสำหรับการขาย
วางแผนสั่งสินค้า เพื่อเตรียมไว้สำหรับการขาย
วิเคราะห์ความนิยมในตัวสินค้าหรือบริการ
สรุปผลการวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุงการบริหารสินค้าและบริหาร
ปรับปรุงการบริหารสินค้า หรือบริหารให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
วิเคราะห์สภาพการตลาดโดยรวมของอุตสาหกรรมและแผนการตลาดขององค์กร
ประเมินความต้องการสินค้าคงคลังให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า
จัดทำแผนการสั่งซื้อสินค้าตามผลการวิเคราะห์ตลาดและผลการประเมินความต้องการสินค้าคงคลัง
จัดซื้อสินค้าตามแผนการสั่งซื้อสินค้าที่กำหนด
บริหารสินค้าคงคลังด้วยระบบหมุนเวียนสินค้าแบบเข้าก่อน ออกก่อน first-in, finst-out
ปฎิบัติการระมัดระวังการรั่วไหลของฐานข้อมูลสินค้าCustomer Data Base
บริหารความเสี่ยงจากการล่มสลายของระบบปฎิบัติการสนับสนุนงานขาย
บริหารความไม่เสถียรของระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
บริหารความเสี่ยงด้านการจัดการด้านระบบ Logistic การขนส่ง และคลังสินค้าถึงจุดหมายปลายทาง
จัดให้มีกระบวนการทำงานที่ได้มาตรฐานสากล ISO 9001 : 2015
จัดให้มีกระบวนการทำงานตามนโยบาย กฎหมายขั้นตอนขององค์กร
จัดให้มีกระบวนการทำงานที่อยู่บนพื้นฐาน จริยธรรมและภายใต้ พ.ร.บ. ธุรกิจขายตรง 2560
ใช้กระบวนการประเมินด้วยระบบ KPI
ใช้ผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นตัวประเมินผล
กำหนดมาตรการในการปรับเปลี่ยนโดยใช้ผลการประเมินผลเป็นพื้นฐาน
กำหนดรายงานที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการขายให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รวบรวมและวิเคราะห์เพื่อจัดทำรายงานที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการขายให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สรุปข้อมูลและจัดส่งรายงาน ให้กับผู้มีส่วนได้เสีย
เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria, PC)
แนวทางการประเมินสำหรับผู้ประเมินสมรรถณะย่อยนี้ (Guidance to Assessors of this Element)