อธิบายความรู้ระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทย
อธิบายความรู้ความปลอดภัยและสุขภาพของผู้ปฏิบัติการ
อธิบายความรู้กฎหมายและจริยธรรมทางการแพทย์ฉุกเฉิน
อธิบายความรู้กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาสำหรับปฏิบัติการฉุกเฉิน
วัดสัญญาณชีพและการเฝ้าตรวจติดตาม
ฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจ
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่พบบ่อย
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษ
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวานที่มีภาวะฉุกเฉิน
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางสุขภาพจิต
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช
ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่
ดูแลเบื้องต้นในผู้ได้รับบาดเจ็บ
ปฏิบัติวิธีพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉิน
อธิบายความรู้จิตวิทยาทั่วไป
ประเมินสภาพผู้ป่วยขั้นต้น
ประเมินสภาพผู้ป่วยฉุกเฉินขั้นต้น
ประเมินสภาพผู้บาดเจ็บขั้นต้น
ซักประวัติและตรวจร่างกายทางปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์
อธิบายความรู้การเขียนรายงาน
อธิบายหลักการเขียนรายงานสำหรับ EMR
ทดสอบในสถานการณ์จำลองระดับพื้นฐาน
ปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ในสถานการณ์จำลองระดับพื้นฐาน
อธิบายวิธีใช้ยารักษาเบื้องต้น
อธิบายวิธีการออกฤทธิ์ของยา
อธิบายวิธีการจัดการทางเดินหายใจ
อธิบายการเปิดทางเดินหายใจ แบบต่างๆ
อธิบายวิธีจัดการทางการแพทย์ในสถานการณ์สาธารณภัย
คัดแยกและดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในสาธารณภัย
ปฏิบัติการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินทางบก
ปฏิบัติการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินทางน้ำ
ปฏิบัติการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินทางอากาศ
เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria, PC)
แนวทางการประเมินสำหรับผู้ประเมินสมรรถณะย่อยนี้ (Guidance to Assessors of this Element)