หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมพลาสติก


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PSI-PLP-4-009ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ตรวจสอบคุณภาพกระบวนการอัดรีดขึ้นรูปโปรไฟล์และท่อ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถใช้เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน และบันทึกข้อมูลด้านคุณภาพของชิ้นงานได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมพลาสติก

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
05221 ใช้เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ 1. อ่านและเขียนคำศัพท์เฉพาะ คำศัพท์เทคนิค เกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพ 05221.01 87834
05221 ใช้เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ 2. อธิบายวิธีใช้งานเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ 05221.02 87835
05221 ใช้เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ 3.ใช้เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพได้ตามเอกสารแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน 05221.03 87836
05222 ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน 1.อธิบายวิธีการตรวจสอบคุณภาพ 05222.01 87837
05222 ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน 2. ตรวจสอบความบกพร่องชิ้นงาน 05222.02 87838
05223 บันทึกข้อมูลด้านคุณภาพของชิ้นงาน 1.บันทึกข้อมูลความสมบูรณ์ และความผิดปกติของชิ้นงาน 05223.01 87839
05223 บันทึกข้อมูลด้านคุณภาพของชิ้นงาน 2. สรุปรวบรวมข้อมูล 05223.02 87840

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ใช้เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ

2. ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน

3. บันทึกข้อมูลด้านคุณภาพของชิ้นงาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. วิธีใช้งานเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ

2. วิธีการตรวจสอบคุณภาพ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ใช้เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ

2. ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน

3. บันทึกข้อมูลด้านคุณภาพของชิ้นงาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. วิธีใช้งานเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ

2. วิธีการตรวจสอบคุณภาพ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ 

2. เอกสารการประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน 

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. เอกสารรับรองผลการเรียน หรือเอกสารรับรองการผ่านการอบรม 

2. เอกสารการประเมินผลการสอบข้อเขียน 

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

ผู้ประเมินตรวจประเมินในด้านความรู้และทักษะโดยการพิจารณาจากการอ่าน และเขียนคำศัพท์เฉพาะ คำศัพท์เทคนิค เกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพ ความเข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการใช้งานเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ และทักษะการใช้เครื่องมือตรวจคุณภาพตามเอกสารแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน พิจารณาความเข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการตรวจสอบคุณภาพและตรวจสอบความบกพร่องของชิ้นงานพร้อมทั้งบันทึกผลข้อมูลความสมบูรณ์และความผิดปกติของชิ้นงาน และสามารถสรุปรวบรวมข้อมูลได้

วิธีการประเมิน

1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

1. ใช้เครื่องมือวัดขนาดและมิติ เช่น เกจต่าง ๆ เวอร์เนียร์ ไมโครมิเตอร์ ในการตรวจสอบคุณภาพได้

2. ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานได้

3. บันทึกข้อมูลด้านคุณภาพของชิ้นงานได้

 (ก) คำแนะนำ

ผู้ประเมินตรวจประเมินในด้านความรู้และทักษะโดยการพิจารณาจากการอ่าน และเขียนคำศัพท์เฉพาะ คำศัพท์เทคนิค เกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพ ความเข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการใช้งานเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ และทักษะการใช้เครื่องมือตรวจคุณภาพตามเอกสารแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน พิจารณาความเข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการตรวจสอบคุณภาพและตรวจสอบความบกพร่องของชิ้นงานพร้อมทั้งบันทึกผลข้อมูลความสมบูรณ์และความผิดปกติของชิ้นงาน และสามารถสรุปรวบรวมข้อมูลได้

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

“เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ” ครอบคลุม เครื่องมือวัดขนาดและมิติ เช่น เกจต่าง ๆ เวอร์เนียร์ ไมโครมิเตอร์ เป็นต้น

“เอกสารแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน” หมายถึง เอกสารแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน หรือคู่มือในการใช้เครื่องจักร ที่สถานประกอบการได้จัดทำไว้เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงาน

“ความบกพร่องชิ้นงาน หรือ ความผิดปกติของชิ้นงาน” หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ตรงตามข้อกำหนดมาตรฐานของลูกค้า เช่น สีไม่ตรงตามผลิตภัณฑ์ต้นแบบหรือไม่ตรงตามที่ระบุในเอกสารใบสั่งผลิต ขนาดไม่ได้ตามข้อกำหนดแบบงาน รูปทรงผิดปกติ เป็นต้น


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
0000 ใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินการใช้เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ

1. แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบข้อเขียน

2. แบบฟอร์มการประเมินการสังเกตการปฏิบัติงาน 

18.2 เครื่องมือประเมินการตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน

1. แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบข้อเขียน

2. แบบฟอร์มการประเมินการสังเกตการปฏิบัติงาน 

18.3 เครื่องมือประเมินการบันทึกข้อมูลด้านคุณภาพของชิ้นงาน

1. แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบข้อเขียน



ยินดีต้อนรับ