หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามมาตรฐาน

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมพลาสติก


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PSI-PES-2-009ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามมาตรฐาน

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ตรวจสอบคุณภาพกระบวนการอัดขึ้นรูป



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถอธิบายลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑำแนกอุปกรณ์ที่ใช้ในการปรับแต่ง รวมทั้งเลือกใช้งานได้อย่างเหมาะสม มีทักษะในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามมาตรฐานได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมพลาสติก

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
02221 ปรับตัดแต่งผลิตภัณฑ์ 1. อ่านและเขียนคำศัพท์เฉพาะ คำศัพท์เทคนิคเกี่ยวกับตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามมาตรฐานได้ 02221.01 87631
02221 ปรับตัดแต่งผลิตภัณฑ์ 2. อธิบายลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ได้ 02221.02 87632
02221 ปรับตัดแต่งผลิตภัณฑ์ 3. ปรับตัดแต่งผลิตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐาน 02221.03 87633
02222 เลือกใช้อุปกรณ์ในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์ 1.จำแนกอุปกรณ์ในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์ได้ 02222.01 87634
02222 เลือกใช้อุปกรณ์ในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์ 2.ใช้อุปกรณ์ในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์ได้ถูกต้องตามคู่มือในการปฏิบัติงาน 02222.02 87635

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

0000 ใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. เลือกใช้อุปกรณ์ในการปรับแต่งให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์

2. ปรับตัดแต่งผลิตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐาน

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน(Performance Evidence)

1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ถ้ามี)

2. แบบบันทึกผลการสังเกตการปฏิบัติงาน 

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ถ้ามี)

2. แบบบันทึกผลการสอบข้อเขียน

 (ค) คำแนะนำในการปฏิบัติงาน

ผู้ประเมินตรวจประเมินในด้านความรู้เกี่ยวกับการอ่าน และเขียนคำศัพท์เฉพาะ คำศัพท์เทคนิค เกี่ยวกับตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามมาตรฐาน สามารถอธิบายลักษณะทางกายภาพของชิ้นงานต้นแบบได้ สามารถจำแนกอุปกรณ์ในการปรับแต่งและสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์ได้ถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงานได้

วิธีการประเมิน

1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

1. ปรับตัดแต่งผลิตภัณฑ์

2. เลือกใช้อุปกรณ์ในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์

(ก) คำแนะนำ

ผู้ประเมินตรวจประเมินในด้านความรู้เกี่ยวกับการอ่าน และเขียนคำศัพท์เฉพาะ คำศัพท์เทคนิค เกี่ยวกับตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามมาตรฐาน สามารถอธิบายลักษณะทางกายภาพของชิ้นงานต้นแบบได้ สามารถจำแนกอุปกรณ์ในการปรับแต่งและสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์ได้ถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงานได้

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

“ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์” หมายถึง ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ที่สามารถมองเห็นโดยการสังเกตด้วยตาเปล่า เช่น สี รูปร่าง รูปทรง เป็นต้น

“คู่มือในการปฏิบัติงาน” หมายถึง คู่มือแสดงลำดับขั้นตอนในการปฏิบัติงานในการตัด ปรับแต่งชิ้นงานให้ตรงตามผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
0000 ใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินการปรับตัดแต่งผลิตภัณฑ์

1. แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบข้อเขียน

2. แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน 

18.2 เครื่องมือประเมินการเลือกใช้อุปกรณ์ในการปรับแต่งผลิตภัณฑ์

1. แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบข้อเขียน

2. แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน 

 



ยินดีต้อนรับ