หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

สร้างระบบและกระบวนการคุณภาพงานเวชสถิติ

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-MNT-6-043ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ สร้างระบบและกระบวนการคุณภาพงานเวชสถิติ

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)


 รหัสและอาชีพตาม ISCO-08 ได้แก่ 3252 เจ้าหน้าที่เวชระเบียนและเจ้าหน้าที่เทคนิคด้านข้อมูลสุขภาพ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
 หน่วยนี้ครอบคลุมความรู้ ทักษะและทัศนคติที่จำเป็นในการสร้างกระบวนการและระบบคุณภาพของการบริหารจัดการ ซึ่งจะรวมถึงการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงคุณภาพในการทำงาน เพื่อช่วยในการวางแผนขั้นตอนการประกันคุณภาพ การรายงานปัญหาที่มีผลต่อคุณภาพและดำเนินการตามขั้นตอนการประกันคุณภาพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
 นักเวชสถิติ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
STA0601 สร้างข้อกำหนด ตัวชี้วัดคุณภาพงานเวชสถิติ 1.1 มีความรู้ความเข้าใจแนวทางการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล STA0601.01 87025
STA0601 สร้างข้อกำหนด ตัวชี้วัดคุณภาพงานเวชสถิติ 1.2 มีความรู้กำหนดตัวชี้วัดผลงาน STA0601.02 87026
STA0601 สร้างข้อกำหนด ตัวชี้วัดคุณภาพงานเวชสถิติ 1.3 มีความรู้พัฒนาปรับปรุงข้อกำหนดด้านคุณภาพให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน สม่ำเสมอและอยู่ในขอบเขต STA0601.03 87027
STA0602 ประเมินความเสี่ยงของการทำงาน 2.1 ระบุจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (Critical Control Point) ที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ STA0602.01 87028
STA0602 ประเมินความเสี่ยงของการทำงาน 2.2 กำหนดระดับความเสี่ยงสำหรับแต่ละอันตราย STA0602.02 87029
STA0602 ประเมินความเสี่ยงของการทำงาน 2.3 จัดทำเอกสารตามขั้นตอนที่มีคุณภาพขององค์กร STA0602.03 87030
STA0603 วางแผนขั้นตอนการประกันคุณภาพ 3.1 วางแนวทางการประกันคุณภาพและแนวทางการจัดการความเสี่ยง STA0603.01 87031
STA0603 วางแผนขั้นตอนการประกันคุณภาพ 3.2 กำหนดตัวชี้วัด STA0603.02 87032
STA0603 วางแผนขั้นตอนการประกันคุณภาพ 3.3 พัฒนากระบวนการและจัดทำเอกสารในการประกันคุณภาพ STA0603.03 87033
STA0604 ดำเนินการตามระบบคุณภาพนั้น 4.1 กำหนดความรับผิดชอบสำหรับการดำเนินการตามขั้นตอนให้แก่เจ้าหน้าที่ STA0604.01 87034
STA0604 ดำเนินการตามระบบคุณภาพนั้น 4.2 นำข้อกำหนดคุณภาพและการประกันคุณภาพมาดำเนินการตามโปรแกรมการประกันคุณภาพขององค์กร STA0604.02 87035
STA0604 ดำเนินการตามระบบคุณภาพนั้น 4.3 สื่อสาร/ฝึกอบรม เกี่ยวกับนโยบายการประกันคุณภาพ STA0604.03 87036
STA0605 ตรวจติดตามผลการดำเนินงาน 5.1 ระบุข้อกำหนดและตรวจสอบปัจจัยขาเข้าเพื่อยืนยันความสามารถในการตอบสนองข้อกำหนดคุณภาพ STA0605.01 87037
STA0605 ตรวจติดตามผลการดำเนินงาน 5.2 ดำเนินการทำงานและตรวจสอบกระบวนการทำงานเพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ต้องการ STA0605.02 87038
STA0605 ตรวจติดตามผลการดำเนินงาน 5.3 ปรับกระบวนการเพื่อรักษาผลลัพธ์ให้อยู่ในข้อกำหนด STA0605.03 87039
STA0606 กำกับดูแลและปรับปรุงคุณภาพงาน 6.1 กำกับดูแลและแก้ไขการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดคุณภาพ STA0606.01 87040
STA0606 กำกับดูแลและปรับปรุงคุณภาพงาน 6.2 ระบุและรายงานปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตภัณฑ์ และ/หรือ บริการที่ไม่สอดคล้อง ตามข้อกำหนดการรายงานสถานที่ทำงาน STA0606.02 87041
STA0606 กำกับดูแลและปรับปรุงคุณภาพงาน 6.3 พิจารณาปัญหาคุณภาพร่วมกับบุคลากรที่ได้รับมอบหมาย STA0606.03 87042
STA0607 รายงานปัญหาต่อหัวหน้างาน/ผู้บริหาร 7.1 ระบุปัญหาคุณภาพที่มีอยู่ STA0607.01 87043
STA0607 รายงานปัญหาต่อหัวหน้างาน/ผู้บริหาร 7.2 ระบุกรณีของการเปลี่ยนแปลงคุณภาพจากข้อกำหนดหรือคำแนะนำในการทำงานรายงานปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับผู้บังคับบัญชาระดับสูง STA0607.02 87044

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


1. ทักษะการตรวจสอบคุณภาพของการทำงาน




2. ทักษะการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงคุณภาพของการทำงาน




3. ทักษะการให้ความช่วยเหลือในการวางแผนขั้นตอนการประกันคุณภาพ




4. ทักษะการรายงานปัญหาที่มีผลต่อคุณภาพ




5. ทักษะการดำเนินการตามขั้นตอนการประกันคุณภาพ

(ข) ความต้องการด้านความรู้


ระบบมาตรฐานคุณภาพที่ใช้


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)


 หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)




(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




1. เอกสาร หลักฐานรับรองประสบการณ์ทำงาน




2. แฟ้มสะสมผลงาน




3. เอกสาร หลักฐานที่เกี่ยวข้อง




(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)




ไม่มี




(ค) คำแนะนำในการประเมิน




ไม่มี




(ง) วิธีการประเมิน




ไม่มี


15. ขอบเขต (Range Statement)

  1. มีแนวทางในการจัดการปัญหา / เหตุการณ์ที่ต้องการแก้ไข / คำร้องเรียน / ข้อเสนอแนะ

  2. ค้นหาสาเหตุของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ หรือเรื่องที่ต้องการแก้ไข

  3. เพื่อเป็นการติดตามการแก้ไขบกพร่อง

  4. มีการบันทึกถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)


สมรรถนะอาจได้รับการประเมินผ่าน




  • การสอบข้อเขียน

  • การสัมภาษณ์




โดยสมรรถนะอาจจะได้รับการประเมินในที่ทำงานหรือในสถานที่ทำงานจำลองที่มีการจัดตั้งขึ้น



ยินดีต้อนรับ