หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

พ่นซ่อมสี

สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ASV-ZZZ-3-069ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ พ่นซ่อมสี

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

    ช่างซ่อมสีรถยนต์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
    ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถปฏิบัติงานด้านการซ่อมแผลขนาดเล็กที่มีรอยบุบ ขนาด 3X3 ซม.  หรือยาวเป็นแนวนอนไม่เกิน 10 ซม. ไม่มีการเปลี่ยนอะไหล่ ไม่มีการเคาะ กระตุก ใช้ช่างคนเดียวทำตั้งแต่ต้นจนส่งมอบงาน ใช้เวลาซ่อมประมาณ 2-4 ชั่วโมง ตามลักษณะของแผล

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
    บริการยานยนต์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
    N/A   

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
    N/A   

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
20391 เตรียมงานก่อน ผสมสี แก้สีได้ตามกำหนด 1.1 เตรียมพื้นที่ทำงานและเครื่องมืออุปกรณ์สำหรับการผสมสีแก้สีได้ตามข้อกำหนด 20391.01 12248
20391 เตรียมงานก่อน ผสมสี แก้สีได้ตามกำหนด 1.2 ทำความสะอาดชิ้นงานเก่า 20391.02 12249
20391 เตรียมงานก่อน ผสมสี แก้สีได้ตามกำหนด 1.3 พร้อมรอเทียบสีได้ถูกต้อง 20391.03 12250
20391 เตรียมงานก่อน ผสมสี แก้สีได้ตามกำหนด 1.4 ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย 20391.04 12251
20392 โป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด 2.1 เตรียมชิ้นงานและเครื่องมืออุปกรณ์สำหรับการโป๊วสีและขัดโป๊วสีได้ตามข้อกำหนด 20392.01 12252
20392 โป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด 2.2 เลือกสีโป๊วและน้ำยาผสมสีโป๊ว ได้ตามข้อกำหนด 20392.02 12253
20392 โป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด 2.3 ผสมสีโป๊วได้ตามข้อกำหนด 20392.03 12254
20392 โป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด 2.4 โป๊วสีชิ้นงานได้ตามขั้นตอนที่กำหนด 20392.04 12255
20392 โป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด 2.5 ขัดสีโป๊วได้ตามขั้นตอน (ขัดแห้ง ขัดน้ำ) 20392.05 12256
20392 โป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด 2.6 ตรวจผิวงานและรูปทรงชิ้นงานได้ตามข้อกำหนด 20392.06 12257
20392 โป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด 2.7 ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย 20392.07 12258
20393 พ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด 3.1 เตรียมชิ้นงานและเครื่องมืออุปกรณ์สำหรับการพ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามข้อกำหนด 20393.01 12259
20393 พ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด 3.2 ทดสอบละอองพ่นสีได้ตามข้อกำหนด 20393.02 12260
20393 พ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด 3.3 พ่นสีพื้นกลบรอยได้ตามลำดับขั้นตอน 20393.03 12261
20393 พ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด 3.4 ตรวจสอบผิวสีหลังการพ่นได้ตามข้อกำหนด 20393.04 12262
20393 พ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด 3.5 ขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามขั้นตอน (ขัดแห้ง ขัดน้ำ) 20393.05 12263
20393 พ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด 3.6 ตรวจผิวงานและรูปทรงชิ้นงานหลังการจขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามข้อกำหนด 20393.06 12264
20393 พ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด 3.7 ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย 20393.07 12265
20394 ผสมสีจริงได้ตามกำหนด 4.1 เตรียมเครื่องชั่งและสีพร้อมชั่งได้ตามกำหนด 20394.01 12266
20394 ผสมสีจริงได้ตามกำหนด 4.2 ชั่งน้ำหนักสีได้ถูกต้องตามสูตร 20394.02 12267
20394 ผสมสีจริงได้ตามกำหนด 4.3 ตรวจสอบน้ำหนักตามสูตรสีได้ถูกต้องตามที่กำหนด 20394.03 12268
20394 ผสมสีจริงได้ตามกำหนด 4.4 ผสมสีและพ่นเทียบสีได้ถูกต้อง 20394.04 12269
20394 ผสมสีจริงได้ตามกำหนด 4.5 ทำความสะอาดเครื่องมืออุปกรณ์พร้อมจัดเก็บได้อย่างถูกต้อง 20394.05 12270
20394 ผสมสีจริงได้ตามกำหนด 4.6 ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย 20394.06 12271
20395 พ่นสีจริงได้ตามกำหนด 5.1 เตรียมพื้นผิวชิ้นงานก่อนการพ่น ได้ถูกต้อง 20395.01 12272
20395 พ่นสีจริงได้ตามกำหนด 5.2 เลือกสีพ่นได้ตรงตามชิ้นงานที่ ต้องการ 20395.02 12273
20395 พ่นสีจริงได้ตามกำหนด 5.3 พ่นสีจริงได้ตามข้อกำหนด 20395.03 12274
20395 พ่นสีจริงได้ตามกำหนด 5.4 ตรวจสอบผิวสีได้ตามข้อกำหนด 20395.04 12275
20395 พ่นสีจริงได้ตามกำหนด 5.5 ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์พร้อมจัดเก็บได้ตรงตามข้อกำหนด 20395.05 12276
20395 พ่นสีจริงได้ตามกำหนด 5.6 ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย 20395.06 12277
20396 พ่นเคลียร์ได้ตามกำหนด 6.1 ตรวจสอบและทำความสะอาดผิวก่อนพ่นเคลียร์ได้ 20396.01 12278
20396 พ่นเคลียร์ได้ตามกำหนด 6.2 พ่นเคลียร์ได้ตามขั้นตอนที่กำหนด 20396.02 12279
20396 พ่นเคลียร์ได้ตามกำหนด 6.3 อบผิวแห้งได้ตามขั้นตอนที่กำหนด 20396.03 12280
20396 พ่นเคลียร์ได้ตามกำหนด 6.4 ตรวจสอบผิวงานได้ถูกต้อง 20396.04 12281
20396 พ่นเคลียร์ได้ตามกำหนด 6.5 ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์พร้อมจัดเก็บได้ตรงตามข้อกำหนด 20396.05 12282
20396 พ่นเคลียร์ได้ตามกำหนด 6.6 ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย 20396.06 12283
20397 ขัดสีเคลือบเงาได้ตามกำหนด 7.1 เตรียมน้ำยาพร้อมขัดเคลือบเงาสีได้ตามข้อกำหนด 20397.01 12284
20397 ขัดสีเคลือบเงาได้ตามกำหนด 7.2 ขัดเคลือบเงาสีได้ตามขั้นตอนที่กำหนด 20397.02 12285
20397 ขัดสีเคลือบเงาได้ตามกำหนด 7.3 ตรวจผิวงานภายหลังการขัดเคลือบเงาสีได้ตามข้อกำหนด 20397.03 12286
20397 ขัดสีเคลือบเงาได้ตามกำหนด 7.4 ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย 20397.04 12287

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

    คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างพ่นสี ระดับ 2


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1. เทคนิคการขัดและการเลือกใช้เบอร์กระดาษทราย

    2. การแก้ปัญหาตามด รอยกระดาษทราย สียุบขึ้นขอบ และการกลบมิดของสีจริง

    3. การเลือกสีโป๊วและมีดโป๊วสีได้เหมาะสมกับชิ้นงาน

    4. ชนิด ประเภทของแผ่นรองขัด เครื่องขัด

    5. การคำนวณและคาดคะเนปริมาณสีที่จะใช้พ่นชิ้นงานแต่ละชิ้น

    6. อุปกรณ์ผสมสี เครื่องชั่งสี วิธีการเทสี และใช้ฝาเทสี

    7. การปรับแต่ง ถอดประกอบ และคุณสมบัติกาพ่นสี

    8. การวิเคราะห์ความเหมือนของเฉดสีที่พ่นบนชิ้นงาน

    9. การใช้ตู้เทียบสี หลอดไฟ และแสงอาทิตย์

    10. การใช้อุปกรณ์ผสมสี เครื่องชั่งไม้วัดอัตราส่วนผสมปริมาณและเลือกใช้ฮาร์ดเดนเนอร์ ทินเนอร์ให้เหมาะสม

    11. การปรับแต่ง ถอดประกอบและคุณสมบัติการพ่นสี

    12. คุณสมบัติ และเทคนิคการพ่นซ่อม ปัดละอองสี การใช้น้ำยากันละอองสีคล้ำและแก้ปัญหาสี เช่น สีลาย มีเม็ดฝุ่น ตามด

    13. คุณสมับติของวัสดุที่ใช้และขั้นตอนการใช้

    14. การอบอินฟราเรด และการใช้ตู้พ่นแผ่นเทียบสี

    15. ขั้นตอนการใช้น้ำยาล้างทำความสะอาด

    16. การขัดและเลือกใช้เบอร์กระดาษทราย ฟองน้ำ และ ยาขัด

    17. แก้ปัญหารอยกระดาษทราบ ตามด ผิวส้ม ความเงาตก รอยขนแมว ขัดแตก

(ข) ความต้องการด้านความรู้

    1. ความปลอดภัยในงานสีรถยนต์

    2. ผลิตภัณฑ์ ขั้นตอนและวิธีทำความสะอาด

    3. ความแตกต่างของชิ้นงานรถยนต์แต่ละประเภท

    4. คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้และขั้นตอนการใช้

    5. แผ่นรหัสสี และการใช้งานเอกสารสี

    6. วงจรสี ทฤษฎีสีและแสง

    7. คุณลักษณะของแม่สี ทิศทาง ความสว่าง สดใส

    8. ชนิด ประเภท ขนแกะ ฟองน้ำและเครื่องขัด



 

14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

    (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

        1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ หรือ

        2. แบบบันทึกรายการจากการสังเกต

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

        1. ใบรับรองการทำงานจากสถานประกอบการ หรือ

        2. ใบรับรองหรือหลักฐานการผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องกับงานซ่อมตัวถังรถยนต์ หรือ

        3. แบบบันทึกประกอบการสัมภาษณ์

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน

        ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับ การผสมสีและแก้สีรถยนต์ขนาดเล็ก และสภาพของรถยนต์หลังให้บริการ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้

    (ง) วิธีการประเมิน

        1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

        2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

    (ก) คำแนะนำ

        1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับข้อกำหนดด้านความปลอดภัย และมาตรฐานการผลิตรถยนต์

        2. ผู้เข้ารับการประเมินต้องคำนึงถึงการเลือกทินเนอร์  การปล่อยให้แห้ง  การปรับความดันลม  การพ่นละอองสี และการติดกระดาษกาว 

        3. ผู้เข้ารับการประเมินต้องระวังเรื่องการติดกระดาษเพื่อปกป้องชิ้นส่วนข้างเคียง   ทำความสะอาดชิ้น งานได้อย่างถูกต้อง  การจัดเตรียมอุปกรณ์และผสมสีโป๊วได้ง ใช้มีดโป๊วสีได้ โป๊วสีโป๊ว ใช้แป้นขัดแห้งได้ ใช้เครื่องขัด ติดกระดาษเพื่อป้องกันชิ้นส่วนข้างเคียง ขัดปรับแต่งให้เข้ารูปทรง และการเลือกใช้เบอร์กระดาษทรายให้ถูกต้อง

        4. ผู้เข้ารับการประเมินอธิบายและแสดงการผสมสี แก้สี โดยการผสมสีจริงตามสูตร หรือการตั้งสูตรสี แต่ง แก้สีให้เหมือนตัวอย่างเพื่อนำมาพ่นสีให้ได้เหมือนกับสีเดิม

        5. ผู้เข้ารับการประเมินต้องชั่งสีตามสูตร คำนวณปรับลดและ เตรียมแม่สีตามสูตรผสมกับจำนวนชิ้นงาน ได้อย่างถูกต้อง ใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือผสมสีได้อย่างถูกต้อง ใช้เครื่องชั่งระบบดิจิตอลได้อย่างถูกต้องชั่งน้ำหนักสีได้อย่าง ถูกต้องตามสูตร

        6. ผู้เข้ารับการประเมินต้องชั่งสีตามสูตร ปรับแก้เฉดสี โดยสามารถวิเคราะห์หน้าตรง หน้าเหลือบ หน้าข้างของเฉดสี เมื่อเปรียบเทียบแผ่นตัวอย่างกับ แผ่นเทียบได้อย่างถูกต้อง ใช้ตู้ไฟหรือหลอดไฟหรือแสงอาทิตย์ ดูเฉดสีได้อย่างถูกต้อง  บอกคุณลักษณะ ทิศทางสีและเลือกแม่สี มาแก้สีได้เหมือนตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง คาดคะเนและปรับน้ำหนักแม่ สีที่นำมาแก้สี ได้อย่างเหมาะสม

    (ข) คำอธิบายรายละเอียด

        1. การพ่นซ่อมสี หมายถึง การซ่อมแผลขนาดเล็กที่มีรอยบุบ ขนาด 3X3 ซม.  หรือยาวเป็นแนวนอนไม่เกิน 10 ซม. ไม่มีการเปลี่ยนอะไหล่ ไม่มีการเคาะ กระตุก ใช้ช่างคนเดียวทำตั้งแต่ะต้นจนส่งมอบงาน ใช้เวลาซ่อมประมาณ 2-4 ชั่วโมง ตามลักษณะของแผล

        2. ลักษณะงานพ่นซ่อมสี ประกอบด้วย เตรียมงานก่อน ผสมสี แก้สีได้ตามกำหนด  การโป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด  การพ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด การผสมสีจริงได้ตามกำหนดพ่นสีจริงได้ตามกำหนด การพ่นเคลียร์ได้ตามกำหนด  และการขัดสีเคลือบเงาได้ตามกำหนด


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
    N/A 

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
    N/A 

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

    18.1 เครื่องมือประเมิน เตรียมงานก่อน ผสมสี แก้สีได้ตามกำหนด

        1. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

        2. แบบบันทึกการสาธิตการทำงาน

        3. แบบสัมภาษณ์เพื่อทดสอบความรู้

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

    18.2 เครื่องมือประเมิน โป๊วสีและขัดสีโป๊วได้ตามกำหนด

        1. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

        2. แบบบันทึกการสาธิตการทำงาน

        3. แบบสัมภาษณ์เพื่อทดสอบความรู้

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

    18.3 เครื่องมือประเมิน พ่นและขัดสีพื้นกลบรอยได้ตามกำหนด

        1. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

        2. แบบบันทึกการสาธิตการทำงาน

        3. แบบสัมภาษณ์เพื่อทดสอบความรู้

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

    18.4 เครื่องมือประเมิน ผสมสีจริงได้ตามกำหนด

        1. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

        2. แบบบันทึกการสาธิตการทำงาน

        3. แบบสัมภาษณ์เพื่อทดสอบความรู้

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

    18.5 เครื่องมือประเมิน พ่นสีจริงได้ตามกำหนด

        1. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

        2. แบบบันทึกการสาธิตการทำงาน

        3. แบบสัมภาษณ์เพื่อทดสอบความรู้

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

    18.6 เครื่องมือประเมิน พ่นเคลียร์ได้ตามกำหนด

        1. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

        2. แบบบันทึกการสาธิตการทำงาน

        3. แบบสัมภาษณ์เพื่อทดสอบความรู้

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

    18.7 เครื่องมือประเมิน ขัดสีเคลือบเงาได้ตามกำหนด

        1. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

        2. แบบบันทึกการสาธิตการทำงาน

        3. แบบสัมภาษณ์เพื่อทดสอบความ



ยินดีต้อนรับ