หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง

สาขาวิชาชีพศิลปะการแสดงและการบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ AAM-FIM-6-030ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)


อาชีพผู้กำกับภาพ (Director of Photography)




ISCO 2654



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง สามารถวิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงาน โดยระบุปัญหา และวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา รวมทั้งสามารถกำหนดแนวทางแก้ปัญหา และดำเนินการแก้ปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้องได้ถูกต้องตามแนวทางการแก้ปัญหาที่กำหนด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
2654 ผู้กำกับและผู้ผลิตภาพยนตร์ ละคร และงานสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1013501 วิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง 1. ระบุปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้องได้ถูกต้องตามลักษณะการทำงาน 1013501.01 80284
1013501 วิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง 2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้องได้ถูกต้องตามหลักการทำงานของการถ่ายทำภาพยนตร์ 1013501.02 80285
1013502 แก้ปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง 1. กำหนดแนวทางแก้ปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้องได้ถูกต้องตามหลักการทำงานของการถ่ายทำภาพยนตร์ 1013502.01 80286
1013502 แก้ปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง 2. ดำเนินการแก้ปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้องได้ถูกต้องตามแนวทางการแก้ปัญหาที่กำหนด 1013502.02 80287

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)


1. ความรู้เกี่ยวกับการผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


1. ทักษะทางการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า




2. ทักษะทางการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และกำหนดแนวทางแก้ปัญหา

(ข) ความต้องการด้านความรู้


1. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของแผนกกล้องตามหลักการทำงานของการถ่ายทำภาพยนตร์




2. ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางแก้ปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้องตามหลักการทำงานของการถ่ายทำภาพยนตร์


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)


(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือผู้ว่าจ้าง




2. เอกสารประเมินผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน




(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)




1. เอกสารรับรองผลการศึกษาหรือผลการอบรม




2. เอกสารประเมินผลจากการสอบข้อเขียน




(ค) คำแนะนำในการประเมิน




ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง โดยพิจารณาจากร่องรอยหลัก ฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้




(ง) วิธีการประเมิน




พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)


(ก) คำแนะนำ




1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถอ่าน พูด และเขียนศัพท์เฉพาะทางในแผนกกล้องได้ทั้งภาษาไทย  และภาษาอังกฤษ




2. ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้ และทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานของแผนกกล้อง




(ข) คำอธิบายรายละเอียด




-


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)


1. เครื่องมือประเมิน




1) แบบทดสอบข้อเขียน




2) แบบบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน




2. เครื่องมือประเมิน




1) แบบทดสอบข้อเขียน




2) แบบบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



 


ยินดีต้อนรับ