หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดเตรียมปัจจัยที่ใช้ในการตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-HRB-3-058ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดเตรียมปัจจัยที่ใช้ในการตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 7543 ผู้คัดคุณภาพและทดสอบผลิตภัณฑ์ ยกเว้นอาหารและเครื่องดื่ม

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
          ปฏิบัติงานเตรียมอุปกรณ์และสารที่ใช้ในการตรวจคุณภาพได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน รวมทั้งดูแลและบำรุงรักษาอุปกรณ์และเครื่องมือในห้องปฏิบัติการให้พร้อมใช้งาน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ปฏิบัติงานด้านการตรวจคุณภาพผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรทางเคมี

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10508-01 เตรียมอุปกรณ์ในการตรวจคุณภาพได้อย่างถูกต้อง 1 เลือกใช้อุปกรณ์ตรวจคุณภาพ 10508-01.01 77666
10508-01 เตรียมอุปกรณ์ในการตรวจคุณภาพได้อย่างถูกต้อง 2 ทวนสอบความพร้อมของอุปกรณ์ตรวจคุณภาพ 10508-01.02 77667
10508-01 เตรียมอุปกรณ์ในการตรวจคุณภาพได้อย่างถูกต้อง 3 บำรุงรักษาอุปกรณ์ตรวจคุณภาพ 10508-01.03 77668
10508-02 จัดการกับสารที่ใช้ในการตรวจคุณภาพจุลชีววิทยา 1 เลือกใช้สารในการตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา 10508-02.01 77672
10508-02 จัดการกับสารที่ใช้ในการตรวจคุณภาพจุลชีววิทยา 2 เตรียมสารในการตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา 10508-02.02 77673
10508-02 จัดการกับสารที่ใช้ในการตรวจคุณภาพจุลชีววิทยา 3 กำจัดสารหลังการใช้ตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา 10508-02.03 77674

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน

2. ทักษะการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

N/A

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. มีทักษะการใช้อุปกรณ์ตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา

2. มีความรู้ในการจัดการสารเคมีที่ใช้ในการตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

          1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

          2. เอกสารรับรองผลการเรียน (ถ้ามี)


15. ขอบเขต (Range Statement)

          1. เลือกใช้อุปกรณ์ตรวจคุณภาพ เช่น การใช้ปิเปต จานเลี้ยงเชื้อ ตู้อบเพาะเชื้อ ขวดแก้ว เป็นต้น

          2. ทวนสอบความพร้อมของอุปกรณ์ตรวจคุณภาพ โดยตรวจสอบการใช้งานของอุปกรณ์ เช่น ความเที่ยงตรงของเครื่องชั่ง อุปกรณ์ไม่ชำรุด แตกหัก เป็นต้น

          3. บำรุงรักษาอุปกรณ์ตรวจคุณภาพ เช่น ก่อนใช้เครื่องแต่ละครั้ง ควรเปิดเครื่องไว้อย่างน้อยประมาณ 15 นาทีก่อนใช้งาน เป็นต้น

          4. เลือกใช้สารในการตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา เช่น Phosphate buffer, Tryptic soy agar เป็นต้น

          5. เตรียมสารในการตรวจคุณภาพจุลชีววิทยา เช่น เตรียมจานเลี้ยงเชื้อโดยใช้ tryptic soy agar ที่อุณหภูมิ 45-50 °C เป็นอาหารเลี้ยงเชื้อจานละ 15-20 มิลลิลิตร เป็นต้น

          6. กำจัดสารหลังการใช้งาน เช่น การฝังกลบ การเผาของเสีย หรือส่งให้หน่วยงานภายนอกกำจัด

          7. เตรียมปัจจัยที่ใช้ในการตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยา ตามคู่มือ 3Rs กับการจัดการของเสียภายในโรงงาน, คู่มือการปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยาโบราณ ตามกฎหมายว่าด้วยยา พ.ศ. 2559และ คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาล จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ พุทธศักราช 2555


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 การสอบข้อเขียน และการสอบปฏิบัติ โดยการสาธิตการปฏิบัติงานหรือการสังเกตการปฏิบัติงาน

18.2 การสอบข้อเขียน และการสอบปฏิบัติ โดยการสาธิตการปฏิบัติงานหรือการสังเกตการปฏิบัติงาน



ยินดีต้อนรับ