หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

กำหนดกระบวนการปั่นด้าย

สาขาวิชาชีพสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TEX-ZZZ-4-003ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ กำหนดกระบวนการปั่นด้าย

3. ทบทวนครั้งที่ N/A /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO รหัส 2163 นักออกแบบสิ่งทอ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้จะอธิบายความรู้และทักษะที่จำเป็นในการแยกประเภทเส้นด้าย เลือกใช้เทคโนโลยีปั่นด้าย เพื่อการกำหนดกระบวนการปั่นด้าย

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพออกแบบวัสดุสิ่งทอ2163 นักออกแบบผลิตภัณฑ์และเครื่องแต่งกาย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1010301 แยกประเภทเส้นด้าย 1 ระบุชนิดเส้นด้าย 1010301.01 72158
1010301 แยกประเภทเส้นด้าย 2 ระบุขนาดเส้นด้าย 1010301.02 72159
1010301 แยกประเภทเส้นด้าย 3 ระบุความหมายของคำศัพท์เทคนิคที่เกี่ยวข้องในการปั่นด้าย 1010301.03 72160
1010302 เลือกใช้เทคโนโลยีปั่นด้าย 1 จำแนกเครื่องจักรในกระบวนการปั่นด้าย 1010302.01 72161
1010302 เลือกใช้เทคโนโลยีปั่นด้าย 2 เข้าใจกระบวนการผลิตเส้นด้าย 1010302.02 72162
1010302 เลือกใช้เทคโนโลยีปั่นด้าย 3 เข้าใจระบบเครื่องจักร 1010302.03 72163

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ทักษะการกำหนดชนิดเส้นด้าย

(ข) ความต้องการด้านความรู้

รู้กระบวนการปั่นด้าย


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

ใบรับรองการผ่านงานจากสถานประกอบการ

 (ข) หลักฐานความรู (Knowledge Evidence)

เอกสารรับรองผลการเรียน หรือเอกสารรับรองการผ่านการอบรม

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

ประเมินจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานด้านความรู้และหลักฐานด้านการปฏิบัติงาน

วิธีการประเมิน

1.พิจารณาตามหลักฐานปฏิบัติงาน

2.พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการแยกประเภทเส้นด้าย และการเลือกใช้เทคโนโลยีปั่นด้าย

(ก) คำแนะนำ

ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีทักษะและความรู้เกี่ยวกับการแยกประเภทเส้นด้าย และการเลือกใช้  เทคโนโลโลยีปั่นด้าย

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

1. ประเภทของเส้นด้าย

- แบ่งตามชนิดของวัตถุดิบ

- แบ่งตามอัตราส่วนผสม

- แบ่งตามกระบวนการปั่นด้าย/เครื่องจักรในการผลิต

- แบ่งตามลักษณะโครงสร้างของเส้นด้าย

- แบ่งตามกระบวนการผลิตหรือองค์ประกอบ

- แบ่งตามลักษณะการเข้าเกลียว

- แบ่งตามลักษณะการใช้งาน

2. องค์ประกอบโครงสร้างของเส้นด้าย

- ขนาดหรือเบอร์เส้นด้าย

- ทิศทางและจำนวนเกลียว

- จำนวนเส้นด้ายควบ

3. กระบวนการปั่นด้าย

- การเปิด (opening)

- การผสมใยและทำความสะอาด (mixing & cleaning)

- การสางใย (carding)

- การหวีเส้นใย (combing)

- การดึง (drawing)

- ลดขนาดเส้นใย (roving)

- การปั่นเกลียวเส้นด้าย (spinning)

4. เครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการปั่นด้าย

- เครื่องผสม (blowing machine)

- เครื่องสางใย (carding machine)

- เครื่องสไลเวอร์แล็ป (sliver lap machine)

- เครื่องริบบอนแล็ป (ribbon lap machine)

- เครื่องหวีฝ้าย (combing machine)

- เครื่องรีด (drawing machine)

- เครื่องปั่นซิมเพลก (simplex machine)

- เครื่องปั่นด้าย (spinning machine)

- เครื่องกรอด้าย (winding machine)

5.การผลิตเส้นด้าย

- แบบวงแหวน (Ring Spinning)

- แบบปลายเปิด (Open-end Spinning)

- แบบใช้ลม (Murata Jet Spinning)

- แบบเกลียวสลับ (Selttwist Spinning)

- แบบไร้เกลียว (Twistless Spinning)

- แบบเปียกสำหรับเส้นใยสั้น (Wet Spinning -Spun)

- แบบฝืด (Friction Spinning)

- แบบหมวกกรวย (Cerifil Spinning)

- แบบหลอมละลาย (Melt Spinning)

- แบบแห้ง (Dry Spinning)

- แบบเปียกสำหรับเส้นใยสังเคราะห์ (Wet Spinning -Synthetic)


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบข้อเขียน

18.2 แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ