หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปรับตั้งศูนย์ล้อรถพ่วงและรถกึ่งพ่วง

สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ASV-ZZZ-3-126ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปรับตั้งศูนย์ล้อรถพ่วงและรถกึ่งพ่วง

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

    ช่างซ่อมระบบส่วนควบรถพ่วงและรถกึ่งพ่วง



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
    ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถปฏิบัติงาน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
    บริการยานยนต์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
    N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
    N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
100131 ตั้งศูนย์ล้อหางลากได้ตามคู่มือซ่อม 1.1 อ่านคู่มือข้อกำหนดหางลากได้ถูกต้อง 100131.01 67321
100131 ตั้งศูนย์ล้อหางลากได้ตามคู่มือซ่อม 1.2 เลือกใช้เครื่องมือวัดศูนย์/มุมล้อได้ตามคู่มือซ่อม 100131.02 67322
100131 ตั้งศูนย์ล้อหางลากได้ตามคู่มือซ่อม 1.3 ติดตั้งเครื่องมือวัดศูนย์ล้อได้ตามคู่มือซ่อม 100131.03 67323
100131 ตั้งศูนย์ล้อหางลากได้ตามคู่มือซ่อม 1.4 วัดระยะระหว่างคิงส์พินและล้อหน้าหางลากได้ตามคู่มือซ่อม 100131.04 67324
100131 ตั้งศูนย์ล้อหางลากได้ตามคู่มือซ่อม 1.5 ใช้เครื่องมือปรับระยะได้ตามคู่มือซ่อม 100131.05 67325
100131 ตั้งศูนย์ล้อหางลากได้ตามคู่มือซ่อม 1.6 ปฏิบัติตามคู่มือซ่อมด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 100131.06 67326
100132 ตรวจสอบและติดตั้งสลักคิงส์พินได้ตามคู่มือซ่อม 2.1 วัดขนาดคิงส์พินได้ตามคู่มือซ่อม 100132.01 67327
100132 ตรวจสอบและติดตั้งสลักคิงส์พินได้ตามคู่มือซ่อม 2.2 ขันยึดคิงส์พินตรงตำแหน่งตามคู่มือซ่อม 100132.02 67328
100132 ตรวจสอบและติดตั้งสลักคิงส์พินได้ตามคู่มือซ่อม 2.3 ทาสารหล่อลื่นที่คิงส์พินได้ตามคู่มือซ่อม 100132.03 67329
100132 ตรวจสอบและติดตั้งสลักคิงส์พินได้ตามคู่มือซ่อม 2.4 ตรวจสอบและทดสอบการทำงานของชุดจานลากพ่วงได้ตามคู่มือซ่อม 100132.04 67330
100132 ตรวจสอบและติดตั้งสลักคิงส์พินได้ตามคู่มือซ่อม 2.5 ปฏิบัติตามคู่มือซ่อมด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 100132.05 67331

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

    ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการตั้งศูนย์ล้อหางลาก


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    การวัดศูนย์ล้อพร้อมการปรับตั้ง และการใช้เครื่องมือในการปรับตั้ง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

    ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโครงสร้าง รถกึ่งพ่วงและหางลากและการปรับตั้งศูนย์ล้อ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

    (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

        1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ หรือ

        2. แบบบันทึกรายการจากการสังเกต หรือ

        3. แฟ้มสะสมผลการปฏิบัติงาน

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

        1. ใบรับรองความรู้จากสถานประกอบการ หรือ

        2. แบบบันทึกประกอบการสัมภาษณ์ หรือ

        3. แฟ้มสะสมผลการปฏิบัติงาน

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน

        ตรวจสอบการใช้เครื่องมือและจุดปรับตั้งพร้อมทั้งการวัดค่าปรับตั้งและรถต้องอยู่ในตำแหน่งที่ราบปกติ


15. ขอบเขต (Range Statement)

    การปรับตั้งศูนย์ล้อรถพ่วงและการใช้เครื่องมือและคู่มือ

    (ก) คำแนะนำ

        การใช้เครื่องมือในการปรับตั้งและตำแหน่งล็อคต้องขันแน่นเสมอ

    (ข) คำอธิบายรายละเอียด

        N/A


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
    N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
    N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

    18.1 เครื่องมือประเมิน ถอด/ปรับ/เปลี่ยนปรับตั้งศูนย์ล้อรถพ่วงและรถกึ่งพ่วง

        1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิธีการประกอบ การตรวจสอบ

        2) แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ของการปฏิบัติงาน และปัญหาที่พบในการทำงาน

        3) การสอบข้อเขียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ หลักการ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน และผลที่เกิดจากการปฏิบัติ พร้อม ปัญหาและแนวทางแก้ไข

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

    18.2 เครื่องมือประเมิน ทดสอบและปรับตั้งการทำงานของปรับตั้งศูนย์ล้อรถพ่วงและรถกึ่งพ่วง

        1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิธีการประกอบ การตรวจสอบ

        2) แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ของการปฏิบัติงาน และปัญหาที่พบในการทำงาน

        3) การสอบข้อเขียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ หลักการ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน และผลที่เกิดจากการปฏิบัติ พร้อม ปัญหาและแนวทางแก้ไข

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



ยินดีต้อนรับ