หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด

สาขาวิชาชีพสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ EVM-IWM-5-037ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ดูแลการจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม



 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถจัดทำรายงานเกี่ยวกับการบำบัดของเสียตามที่กฏหมายกำหนด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพการจัดการของเสียอุตสาหกรรม

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
​​​​​​​1. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 2.กฏกระทรวงฉบับที่ 2 ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 25353.ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องการกําหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กําหนดวิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กําหนดคุณสมบัติของผู้ควบคุมดูแล ผู้ปฏิบัติงานประจํา และหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียน ผู้ควบคุมดูแล สําหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
03305.01 จัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด 1. รู้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียอุตสาหกรรม 03305.01.01 66036
03305.01 จัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด 2. จัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด 03305.01.02 66037

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ




    1. ทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานได้



(ข) ความต้องการด้านความรู้


  1. กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




  1. หนังสือรับรองประสบการณ์ทำงาน

  2. เอกสารรับรองการผ่านการสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิค



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)




  1. เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียน

  2. ใบประกาศนียบัตรผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม



(ค)คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการจัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้



(ง) วิธีการประเมิน




  1. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน

  2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

การจัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนดในระดับคุณวุฒิที่ 5 เป็นการจัดทำรายงานโดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการเตรียมข้อมูล รายละเอียดต่างๆ จากระดับคุณวุฒิที่ 3 และ 4



(ก) คำแนะนำ




  1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญกับกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการบำบัดกากของเสียอุตสาหกรรม



(ข) คำอธิบายรายละเอียด




  1. กากของเสียอุตสาหกรรม ได้แก่ ของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต วัตถุดิบที่เสื่อมสภาพจากการเก็บ ผลิตภัณฑที่ไมไดคุณภาพหรือเสื่อมสภาพ ภาชนะบรรจุที่มีของปนเปอนและของเหลือใช้

  2. รายงานการจัดการของเสีย หมายถึงแบบฟอร์มต่างๆ ภายใต้พระราชบัญญัติโรงงานอุตสาหกรรมฯ และ พระราชบัญญัติวัตถุอันตรายฯ เช่น แบบสก.2, 3, 4 และ 5 และหมายรวมถึงเอกสารการขนส่งของเสียอันตราย (Waste Manifest)

  3. กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียอุตสาหกรรม เช่น พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 รวมถึงกฏกระทรวง ประกาศกระทรวง และประกาศกรมโรงงาน ที่เกี่ยวข้อง


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินสมรรถนะย่อย เตรียมข้อมูลและจัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด



     1. ข้อสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิค



     2. ข้อสอบปรนัย (สี่ตัวเลือก)



     ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



ยินดีต้อนรับ