หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหารจัดการระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการด้วยมาตรฐานสากล

สาขาวิชาชีพสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ EVM-IWM-5-010ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหารจัดการระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการด้วยมาตรฐานสากล

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพนักวิเคราะห์ของเสียในระดับห้องปฏิบัติการ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถจัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการด้วยมาตรฐานสากลได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพการจัดการของเสียอุตสาหกรรม

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1. ISO/IEC 17025, General Requirements for the Competence of Testing and Calibration Laboratories, 2005.2. OECD, Principles of Good Laboratory Practice, 1997. 

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01110.01 จัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล 1. จัดทำระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการตามข้อกำหนดขององค์กรสากล เช่น ISO/IEC 17025 หรือวิธีปฏิบัติสำหรับห้องปฏิบัติการที่ดี(Good Laboratory Practice: GLP) 01110.01.01 65816
01110.01 จัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล 2. จัดทำเอกสารระบบคุณภาพ 01110.01.02 65817
01110.02 ดำเนินงานด้านวิชาการเพื่อสร้างความมั่นใจและความถูกต้องของผลการวิเคราะห์ทดสอบตามมาตรฐานสากล 1. จัดให้มีการกระบวนการรักษาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ 01110.02.01 65818
01110.02 ดำเนินงานด้านวิชาการเพื่อสร้างความมั่นใจและความถูกต้องของผลการวิเคราะห์ทดสอบตามมาตรฐานสากล 2. จัดให้มีการตรวจติดตามคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ 01110.02.02 65819

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ทักษะการปฏิบัติงาน สามารถ



- จัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล



- ดำเนินงานด้านวิชาการเพื่อสร้างความมั่นใจและความถูกต้องของผลการวิเคราะห์ทดสอบตามมาตรฐานสาก

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. การจัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. เอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ในระบบคุณภาพ



2. หนังสือรับรองประสบการณ์ทำงาน



3. เอกสารรับรองการผ่านการสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิค



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียน



2. หลักฐานจากใบรับรอง ใบผ่านการอบรม ใบผ่านการอบรม



(ค)คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการจัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการด้วยมาตรฐานสากล โดยพิจารณาหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน



2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

         การจัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากลของอาชีพนักวิเคราะห์ของเสียในระดับห้องปฏิบัติการ ระดับชั้นคุณวุฒิที่ 6 ประกอบด้วยการจัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากลและดำเนินงานด้านวิชาการเพื่อสร้างความมั่นใจและความถูกต้องของผลการวิเคราะห์ทดสอบตามมาตรฐานสากล



(ก) คำแนะนำ



N/A



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. การบริหารจัดการ หมายถึงการควบคุมการดำเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องปฏิบัติการให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง



2. ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล หมายถึงระบบการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้ผลการทดสอบที่ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นไปตามมาตรฐานสากล เช่น ISO/IEC 17025 หรือวิธีปฏิบัติสำหรับห้องปฏิบัติการที่ดี (Good Laboratory Practice: GLP)


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1. เครื่องมือประเมินหน่วยสมรรถนะย่อย จัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล



1. ข้อสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิค



2. ข้อสอบปรนัย (สี่ตัวเลือก)



3. ข้อสอบอัตนัย



ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



​​​​​​​​​​​​​​18.2. เครื่องมือประเมินหน่วยสมรรถนะย่อย ดำเนินงานด้านวิชาการเพื่อสร้างความมั่นใจและความถูกต้องของผลการวิเคราะห์ทดสอบตามมาตรฐานสากล



1. ข้อสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิค



2. ข้อสอสบปรนัย (สี่ตัวเลือก)



3. ข้อสอบอัตนัย



ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



 



ยินดีต้อนรับ