หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

เพิ่มผลิตภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมเซรามิกและเครื่องเคลือบ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CER-CRT-6-080ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ เพิ่มผลิตภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก

3. ทบทวนครั้งที่ N/A /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้บริหารการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิก



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก แก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก จัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมเซรามิก และบริหารระบบคุณภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรมเซรามิกและเครื่องเคลือบ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01771 ปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก 1.นโยบาย 5 ส ถูกกำหนดได้อย่างครบถ้วนทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 01771.01 59093
01771 ปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก 2.แผนงานกิจกรรม 5 ส ถูกกำหนดได้อย่างถูกต้องครบถ้วนทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 01771.02 59094
01771 ปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก 3.กิจกรรม 5 ส ถูกดำเนินได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามพื้นที่ในแผน 5ส 01771.03 59095
01771 ปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก 4.รายงานการตรวจประเมิน 5ส ถูกจัดทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 01771.04 59096
01771 ปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก 5.มาตรฐานการปฏิบัติงานถูกจัดได้อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรการที่กำหนด 01771.05 59097
01772 แก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก 1.โครงสร้างพื้นฐานของQCC ถูกกำหนดได้อย่างถูกต้องครบถ้วน 01772.01 59098
01772 แก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก 2.มาตรฐานการปฏิบัติงานถูกกำหนดได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 01772.02 59099
01772 แก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก 3.แผนงานกิจกรรม QCCถูกกำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 01772.03 59100
01772 แก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก 4.แนวทางแก้ปัญหาถูกจัดทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 01772.04 59101
01772 แก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก 5.รายงานประเมินผลการแก้ปัญหาถูกจัดทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 01772.05 59102
01772 แก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก 6.มาตรการควบคุมถูกจัดทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 01772.06 59103
01773 จัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมเซรามิก 1.แผนด้านความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อม ถูกกำหนดได้อย่างถูกต้อง 01773.01 59104
01773 จัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมเซรามิก 2.รายการตัวชี้วัดด้านความปลอดภัย สุขอนามัยสิ่งแวดล้อมถูกจัดทำได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามข้อกำหนด 01773.02 59105
01773 จัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมเซรามิก 3.คู่มือด้านความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับคน โรงงาน เครื่องจักรเครื่องมือ และสภาพแวดล้อมถูกจัดทำได้อย่างครบถ้วน 01773.03 59106
01773 จัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมเซรามิก 4.รายการควบคุมการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยด้านความปลอดภัย สุขอนามัยสิ่งแวดล้อมถูกดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพตามข้อกำหนด 01773.04 59107
01773 จัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมเซรามิก 5.รายการประเมินด้านความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมถูกดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 01773.05 59108
01773 จัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมเซรามิก 6.รายการปรับปรุงมาตรการด้านความปลอดภัย สุขอนามัยสิ่งแวดล้อมถูกนำไปปรับปรุงแผนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 01773.06 59109
01774 บริหารระบบคุณภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก 1.ระบบคุณภาพถูกประกาศใช้ในหน่วยงานตามมาตรฐานที่กำหนด 01774.01 59110
01774 บริหารระบบคุณภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก 2.เอกสารข้อกำหนดการปฏิบัติงานถูกจัดทำได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานที่กำหนด 01774.02 59111
01774 บริหารระบบคุณภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก 3.ระบบคุณภาพถูกควบคุมให้นำไปปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานที่กำหนด 01774.03 59112
01774 บริหารระบบคุณภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก 4.ระบบคุณภาพถูกปรับปรุงให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานที่กำหนด 01774.04 59113

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ความรู้และทักษะเกี่ยวกับเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิต


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตโดยรวมในอุตสาหกรรมเซรามิก

2. ปฏิบัติการปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก

3. ปฏิบัติการแก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก

4. ปฏิบัติการจัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อม ในอุตสาหกรรมเซรามิก

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. พื้นฐานการผลิต

2. 5ส

3. การวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยเทคนิค PDCA QCC ไคเซน

4. ระบบคุณภาพ

5. การเพิ่มผลิตภาพ

6. การจัดการความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก)  หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

2. เอกสารการประเมินการปฏิบัติงานจริงตามรายการประเมิน

3. แบบบันทึกรายการจากการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

(ข)  หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. เอกสารผ่านการอบรมเกี่ยวกับการบริหารบุคลากร

2. เอกสารรับรองหรือผลการประเมินจากสถานประกอบการ

3. เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือการสัมภาษณ์ด้านความรู้

4. แฟ้มสะสมผลงาน

(ค)  คำแนะนำในการประเมิน

ประเมินเกี่ยวกับบริหารต้นทุนในอุตสาหกรรมเซรามิก โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้

(ง)  วิธีการประเมิน

1. พิจารณาหลักฐานความรู้

2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

(ก)  คำแนะนำ

1.  รายการปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก ถูกดำเนินการได้ตามมาตรฐานการปรับปรุงคุณภาพ

2.  รายการแก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก  ถูกดำเนินการได้ตามมาตรฐานการปรับปรุงคุณภาพ

3.  แผนการจัดการความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อม ในอุตสาหกรรมเซรามิก ถูกดำเนินการได้ตามมาตรฐานที่กำหนด

4.  ระบบบริหารคุณภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก ถูกดำเนินการได้ตามมาตรฐานที่กำหนด

(ข)  คำอธิบายรายละเอียด

1.  การการปรับปรุงงานด้วย 5ส ในอุตสาหกรรมเซรามิก  มีการกำหนดนโยบายและคณะกรรมการ 5 ส กำหนดแผนงานกิจกรรม พื้นที่ และจัดทำคู่มือ 5 ส ดำเนินกิจกรรม 5 ส ตามพื้นที่ การตรวจประเมิน และกำหนดมาตรฐานและมาตรการการปฏิบัติงาน

2.  การการแก้ปัญหาด้วย QCC ในอุตสาหกรรมเซรามิก  มีกระบวนการหลักได้แก่ กำหนดโครงสร้างพื้นฐานของ QCC กำหนด มาตรฐานการปฏิบัติงาน

3.  คัดเลือกประเด็นปัญหาและแผนงานกิจกรรม วิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ปัญหา ดำเนินกิจกรรมและมาตรการตามแผนงาน ประเมินผลการแก้ปัญหา จัดทำมาตรการและรายการควบคุม หรืออาจเลือกวิธีการแก้ปัญหาและการตัดสินใจโดยใช้เทคนิคอื่นๆก็ได้

4.  การจัดการความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม ในอุตสาหกรรมเซรามิก ประกอบด้วย กำหนดแผนด้านความปลอดภัย สุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม  กำหนดตัวชี้วัด จัดทำคู่มือด้านความปลอดภัย สุขอนามัยและสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับคน โรงงาน เครื่องจักร เครื่องมือ และสภาพแวดล้อม ควบคุมการปฏิบัติงานตามข้อกำหนด ประเมินผล และนำมาตรการด้านความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อมไปปรับปรุงแผนงาน

5.  บริหารระบบคุณภาพในอุตสาหกรรมเซรามิก ประกอบด้วย ระบบคุณภาพถูกประกาศใช้งาน เอกสารข้อกำหนดการปฏิบัติงานถูกจัดทำได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด  ระบบคุณภาพถูกควบคุมให้นำไปปฏิบัติตามได้ตามเอกสารข้อกำหนด และระบบคุณภาพถูกปรับปรุงให้ถูกต้องตามข้อกำหนด


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบความรู้โดยวิธีการสัมภาษณ์

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานจากแฟ้มสะสมแสดงผลงาน

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.2 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบความรู้โดยวิธีการสัมภาษณ์

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานจากแฟ้มสะสมแสดงผลงาน

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.3 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบความรู้โดยวิธีการสัมภาษณ์

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานจากแฟ้มสะสมแสดงผลงาน

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.4 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบความรู้โดยวิธีการสัมภาษณ์

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานจากแฟ้มสะสมแสดงผลงาน

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ