หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

วางแผนงบประมาณใน การผลิตอาหารไทย

สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคารและร้านอาหาร


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ THR-ABSD-1062A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ วางแผนงบประมาณใน การผลิตอาหารไทย

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

5120 ผู้ประกอบอาหาร 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้ เป็นหน่วยที่เกี่ยวกับความรู้และทักษะที่จำเป็นในการประมาณการจำนวนวัตถุดิบในการผลิตอาหารไทย และการสำรวจราคากลางวัตถุดิบจากตลาด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคารและร้านอาหาร

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
5120 พ่อครัว/แม่ครัว

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
20601.01 ประมาณการจำนวนวัตถุดิบในการผลิตอาหารไทย ประมาณการจำนวนวัตถุดิบในการผลิตอาหารไทย 20601.01.01 225933
20601.02 สำรวจราคากลางวัตถุดิบจากตลาด 2.1 สำรวจราคากลางของวัตถุดิบอาหารไทยจากแหล่งผลิต แหล่งการค้าขายได้ 20601.02.01 225934

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    ทักษะแสดงถึงการรู้จัก เข้าใจ และวิเคราะห์งบประมาณในการผลิตอาหารไทย

2.    ความสามารถในการประมาณการจำนวนวัตถุดิบในการผลิตอาหารไทย

3.    ความสามารถในการวิเคราะห์ราคากลางวัตถุดิบจากตลาด

4.    ความสามารถในการทำเอกสารการวางแผนงบประมาณในการผลิตอาหารไทย

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ความรู้เกี่ยวกับอาหารและการเตรียมสำหรับการประกอบอาหารไทย

2.    ความรู้เรื่องหลักการประกอบอาหาร

3.    ความรู้เรื่องอาหารไทย

4.    ความรู้เกี่ยวกับการตลาด

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1.    เอกสารการกำหนดปริมาณหรือจำนวนของวัตถุดิบอาหารไทยที่ใช้ในการประกอบอาหารไทยได้

2.    เอกสารการสำรวจราคากลางของวัตถุดิบอาหารไทยจากแหล่งผลิต แหล่งการค้าขายได้



(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1.    แบบสัมภาษณ์

2.    แบบทดสอบความรู้

3.    แบบบันทึกการอบรม

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

N/A

วิธีการประเมิน

ผู้ประเมินทำการประเมินความรู้ของผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบทดสอบความรู้ และใช้แบบสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ  ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง

(ก)  คำแนะนำ 

N/A

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

1)  ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน (workplace procedures)

1. ปริมาณหรือจำนวนของวัตถุดิบอาหารไทย ปริมาณหรือจำนวนของวัตถุดิบอาหารไทยก่อนการหั่น ตัด แต่ง 

2. ปริมาณหรือจำนวนของวัตถุดิบอาหารไทย ปริมาณหรือจำนวนของวัตถุดิบอาหารไทยหลังการหั่น ตัด แต่ง

3. สำรวจราคากลางของวัตถุดิบอาหารไทยจากแหล่งผลิต แหล่งการค้าขายได้

2) สถานที่ทำงาน (work site)

N/A

3) สภาวะในการทำงาน (operating conditions)

N/A

4) ข้อมูล/เอกสาร (information/documents)

1. เอกสารการกำหนดปริมาณหรือจำนวนของวัตถุดิบอาหารไทยที่ใช้ในการประกอบอาหารไทยได้

2. เอกสารการสำรวจราคากลางของวัตถุดิบอาหารไทยจากแหล่งผลิต แหล่งการค้าขายได้

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 การสัมภาษณ์

18.2 เอกสารที่ใช้ทดสอบ (ภาคทฤษฎี)  

 



ยินดีต้อนรับ