หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ให้การรับรองผลการทดสอบสมบัติยางในอุตสาหกรรมยางกลางน้ำ

สาขาวิชาชีพผลิตภัณฑ์ยางพารา


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RUB-XXMJ-144A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ให้การรับรองผลการทดสอบสมบัติยางในอุตสาหกรรมยางกลางน้ำ

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ปฏิบัติงานทดสอบสมบัติยางกลางน้ำ

ISCO-08    1311 หัวหน้าแผนกผลิตผลิตภัณฑ์ยาง/ผู้จัดการโรงงานผลิตยางแผ่น

                  2145 ผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียาง

 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวข้องกับอาชีพผู้ปฏิบัติงานทดสอบสมบัติยางกลางน้ำ โดยผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมาตรฐานการทดสอบยางกลางน้ำ ได้แก่ สมบัติยางแท่ง และสมบัติน้ำยางข้น มีความเข้าใจหลักการรายงานผลการทดสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐาน และสามารถประเมินคุณภาพความน่าเชื่อถือและรับรองความถูกต้องของรายงานผลการทดสอบ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพผลิตภัณฑ์ยางพารา สาขาแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1) คู่มือมาตรการยางเอสทีอาร์ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร2) ISO 2000 Natural Rubber (NR) Specifications3) ISO 2004-1997 Natural Rubber Latex Concentrate4) มอก. 980-2552 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
TS631

ทดสอบยางกลางน้ำได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน

1. อธิบายหลักการมาตรฐานการทดสอบยางกลางน้ำ

TS631.01 224524
TS631

ทดสอบยางกลางน้ำได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน

2. ระบุวัตถุประสงค์ของการทดสอบสมบัติยางกลางน้ำ

TS631.02 224525
TS631

ทดสอบยางกลางน้ำได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน

3. เข้าใจหลักการและใช้งานเครื่องในการทดสอบได้อย่างถูกต้อง

TS631.03 224526
TS631

ทดสอบยางกลางน้ำได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน

4. ดำเนินการผลรับรองผลการประเมินผลการทดสอบได้สอดคล้องกับมาตรฐานการทดสอบยางกลางน้ำ

TS631.04 224527
TS632

รายงานผลการทดสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐาน

1. อธิบายหลักการจัดทำรายงานที่สอดคล้องกับหลักการทดสอบ

TS632.01 224528
TS632

รายงานผลการทดสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐาน

2. ดำเนินการจัดทำรายงานที่สอดคล้องกับหลักการทดสอบ

TS632.02 224529
TS632

รายงานผลการทดสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐาน

3. รายงานผลการทดสอบได้ถูกต้องตามหลักการทดสอบ

TS632.03 224530
TS633

ประเมินคุณภาพความน่าเชื่อถือและรับรองความถูกต้องของ
รายงานผลการทดสอบ

1. มีความรู้ความเข้าใจการกระบวนการรายงานผลการทดสอบ
ที่ถูกต้อง

TS633.01 224531
TS633

ประเมินคุณภาพความน่าเชื่อถือและรับรองความถูกต้องของ
รายงานผลการทดสอบ

2. แปรผลข้อมูลและประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล

TS633.02 224532
TS633

ประเมินคุณภาพความน่าเชื่อถือและรับรองความถูกต้องของ
รายงานผลการทดสอบ

3. ลงนามรับรองผลการทดสอบที่ผ่านจาก ห้องปฏิบัติการ

TS633.03 224533

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1)     มีทักษะเกี่ยวการเตรียมสารเคมี

2)     มีทักษะเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์และเครื่องแก้ววิทยาศาสตร์

3)     มีทักษะเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือวิเคราะห์ทดสอบ

4)     มีทักษะทางด้านการสื่อสาร

5)     มีทักษะการเขียนรายงาน

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1)     มีความรู้เรื่องมาตรฐานการทดสอบสมบัติยางกลางน้ำ

2)     มีความรู้เรื่องการใช้เครื่องมือวิเคราะห์และทดสอบสมบัติของยาง

3)     มีความรู้ด้านการเขียนรายงานและแปรผลการทดสอบ

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

 หลักฐานที่ต้องการจะเป็นแนวทางในการกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรใช้เป็นเอกสารประกอบการประเมินร่วมกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) ทักษะและความรู้ที่ต้องการ

    (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1)     หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

2)     หลักฐาน/หนังสือรับรองการทำงาน หรือผ่านงานที่ออกโดยหน่วยงานที่เชื่อถือได้

3)     แฟ้มสะสมงาน (ถ้ามี)

4)     เอกสารรับรองการผ่านการอบรม หรือ เอกสารรับรองประสบการณ์ทำงาน

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1)     หลักฐานคุณวุฒิการศึกษา

2)     หลักฐานการผ่านการอบรม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการ

3)     ผลการสอบข้อเขียน

4)     ผลการสอบสัมภาษณ์/ปฏิบัติ

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน

1)     ผู้ประเมินจะต้องดำเนินการตรวจประเมินความรู้เกี่ยวกับหน่วยสมรรถนะย่อยที่รับการพิจารณา

2)     หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงหน่วยสมรรถนะนี้ต้องมีความสัมพันธ์กับข้อกำหนดของหน่วยสมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยหลักฐานต้องแสดงถึง

    - ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง

    - วิธีการปฏิบัติงานในกระบวนการผลิต กฎหมาย กฎเกณฑ์ และระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

    - ขอบเขตด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

    (ง) วิธีการประเมิน

1)     การสอบข้อเขียน

2)     การสอบสัมภาษณ์

3)     การสอบปฏิบัติ

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

           อธิบายถึงการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ระบุการเก็บตัวอย่างและการทดสอบสมบัติยางกลางน้ำ ได้แก่ ยางแท่ง และน้ำยางข้น

เข้าใจกระบวนการทดสอบและแปรผลการทดสอบ รวมถึงสามารถวิเคราะห์ผลได้อย่างถูกต้องตามหลักการ สามารถประเมินความถูกต้องของข้อมูลได้


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1)    ประเมินโดยใช้แบบทดสอบเขียน

2)    ประเมินโดยการสัมภาษณ์ตามแบบทดสอบที่กำหนดไว้

3)    ประเมินโดยการสอบปฏิบัติ

4)    ประเมินจากหลักฐานอื่นๆ เช่น หนังสือ/เอกสารรับรองการผ่านการอบรม หนังสือรับรองการทำงาน/ผ่านงาน โดยต้องพิจารณาควบคู่ไปกับการสอบสัมภาษณ์ 

5)    ประเมินจากการปฏิบัติงานจริง



 



ยินดีต้อนรับ