หน่วยสมรรถนะ
ดำเนินการผลิตยางแท่งจากยางแห้ง
สาขาวิชาชีพผลิตภัณฑ์ยางพารา
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | RUB-YDNU-131A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ดำเนินการผลิตยางแท่งจากยางแห้ง |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพผู้ปฏิบัติงานผลิตยางแท่ง |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวข้องกับอาชีพผู้ปฏิบัติงานผลิตยางแท่ง โดยผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรีดแผ่นเครพ ตัดย่อย และล้างทำความสะอาด การอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง การอัดแท่งและประเมินสมบัติเบื้องต้น |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มวิชาชีพผลิตภัณฑ์ยางพารา สาขาแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1) คู่มือมาตรการยางเอสทีอาร์ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร2) ISO 2000 Natural Rubber (NR) Specifications |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
BS431 ดำเนินการรีดแผ่นเครพ ตัดย่อย และล้างทำความสะอาด |
1. อธิบายขั้นตอนการรีดแผ่นเครพ ตัดย่อย และล้างทำความสะอาด |
BS431.01 | 224402 |
BS431 ดำเนินการรีดแผ่นเครพ ตัดย่อย และล้างทำความสะอาด |
2. ควบคุมขั้นตอนการรีดแผ่นเครพ และการปรับระยะระหว่างลูกกลึ้ง |
BS431.02 | 224403 |
BS431 ดำเนินการรีดแผ่นเครพ ตัดย่อย และล้างทำความสะอาด |
3. ควบคุมขั้นตอนการตัดย่อยและการปรับขนาดการตัดย่อยชิ้นยาง |
BS431.03 | 224404 |
BS431 ดำเนินการรีดแผ่นเครพ ตัดย่อย และล้างทำความสะอาด |
4. ควบคุมการล้างทำความสะอาดและการทำให้สะเด็ดน้ำ |
BS431.04 | 224405 |
BS431 ดำเนินการรีดแผ่นเครพ ตัดย่อย และล้างทำความสะอาด |
5. ประเมินความสะอาดและขนาดของชิ้นยาง |
BS431.05 | 224406 |
BS432 ดำเนินการอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง |
1. อธิบายขั้นตอนการอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง |
BS432.01 | 224407 |
BS432 ดำเนินการอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง |
2. กระจายยางในกระบะอบให้สม่ำเสมอ |
BS432.02 | 224408 |
BS432 ดำเนินการอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง |
3. ควบคุมอุณหภูมิและเวลาในการอบ |
BS432.03 | 224409 |
BS432 ดำเนินการอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง |
4. เป่าลมไล่ความชื้น |
BS432.04 | 224410 |
BS432 ดำเนินการอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง |
5. ตรวจสอบความชื้นระหว่างการอบ |
BS432.05 | 224411 |
BS432 ดำเนินการอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง |
6. ตรวจสอบจุดขาวหลังการอบเพื่อประเมินความสุกของเนื้อยาง |
BS432.06 | 224412 |
BS432 ดำเนินการอบไล่ความชื้นในเนื้อยาง |
7. ตรวจสอบสิ่งแปลกปลอมในยาง |
BS432.07 | 224413 |
BS433 ดำเนินการอัดแท่ง |
1. อธิบายกระบวนการอัดแท่ง |
BS433.01 | 224414 |
BS433 ดำเนินการอัดแท่ง |
2. เตรียมยางตามน้ำหนักบรรจุ |
BS433.02 | 224415 |
BS433 ดำเนินการอัดแท่ง |
3. อัดยางลงในแม่พิมพ์ |
BS433.03 | 224416 |
BS434 ประเมินสมบัติยางแท่งจากยางแห้งในเบื้องต้น |
1. ตรวจสอบขนาด รูปทรง และน้ำหนักตามมาตรฐาน |
BS434.01 | 224417 |
BS434 ประเมินสมบัติยางแท่งจากยางแห้งในเบื้องต้น |
2. ตรวจสอบการปนเปื้อนของยางแท่งประเภทโลหะและสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ |
BS434.02 | 224418 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1) มีทักษะการประเมินคุณภาพยางก้อนถ้วยเบื้องต้น (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1) มีความรู้เรื่องการประเมินคุณภาพยางก้อนถ้วย |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะเป็นแนวทางในการกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรใช้เป็นเอกสารประกอบการประเมินร่วมกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) ทักษะและความรู้ที่ต้องการ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
อธิบายถึงการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ระบุตามคู่มือมาตรการยางเอสทีอาร์ ตามเอกสารของสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร การปรับปรุงรูปแบบและพัฒนาการผลิตยางธรรมชาติมีหลายวี และการผลิตยางชนิดที่ เรียกว่า “ยางแท่ง” หรือยางที่ผลิตโดยระบุคุณภาพมาตรฐาน (Technically Specified Rubber) เป็นการผลิตแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมของผู้ใช้ยางทั่วไป ประเทศไทยได้เริ่มการผลิตยางแท่งเมื่อปี พ.ศ. 2511 เรียกว่า ยางแท่งทีทีอาร์ (Thai Tested Rubber, TTR) โดยมีสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบในมาตรฐานควบคุมการผลิตและการทดสอบ เพื่อรับรองคุณภาพซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานสากล ISO 2000 Natural Rubber (NR) Specifications และตามข้อตกลงของ International Rubber Association (IRA) |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1) ประเมินโดยใช้แบบทดสอบเขียน |