หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์พลาสติกด้วยเครื่องมือกล

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MLD-FGJE-613A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์พลาสติกด้วยเครื่องมือกล

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2567

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

รหัส ISCO - ช่างผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

         3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต

         7222 ช่างทำเครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

         7222.60 ช่างทำแม่พิมพ์

         7223 ช่างปรับตั้งและใช้เครื่องมือกล

 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
      ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะในการกำหนดขั้นตอนในการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์พลาสติกด้วยเครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจียและเครื่องเจาะ รวมถึงสามารถกำหนดอุปกรณ์และเครื่องมือที่เหมาะสมในการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์พลาสติก

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
     อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
102P23.1

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกัด

1.1 กำหนดอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน

102P23.1.01 220908
102P23.1

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกัด

1.2 กำหนดเครื่องมือตัด

102P23.1.02 220909
102P23.1

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกัด

1.3 กำหนดวิธีจับยึดชิ้นงาน และตรวจสอบความถูกต้อง

102P23.1.03 220910
102P23.1

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกัด

1.4 กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกัด

102P23.1.04 220911
102P23.1

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกัด

1.5 กำหนดวิธีตรวจสอบขนาด และความถูกต้อง

102P23.1.05 220912
102P23.2

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกลึง

2.1 กำหนดอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน

102P23.2.01 220913
102P23.2

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกลึง

2.2 กำหนดเครื่องมือตัด

102P23.2.02 220914
102P23.2

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกลึง

2.3 กำหนดวิธีจับยึดชิ้นงาน และตรวจสอบความถูกต้อง

102P23.2.03 220915
102P23.2

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกลึง

2.4 กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกลึง

102P23.2.04 220916
102P23.2

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องกลึง

2.5 กำหนดวิธีตรวจสอบขนาด และความถูกต้อง

102P23.2.05 220917
102P23.3

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจีย

3.1 กำหนดอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน

102P23.3.01 220918
102P23.3

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจีย

3.2 กำหนดประเภทของหินเจีย

102P23.3.02 220919
102P23.3

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจีย

3.3 กำหนดวิธีจับยึดชิ้นงาน และตรวจสอบความถูกต้อง

102P23.3.03 220920
102P23.3

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจีย

3.4 กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจีย

102P23.3.04 220921
102P23.3

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจีย

3.5 กำหนดวิธีตรวจสอบขนาด และความถูกต้อง

102P23.3.05 220922
102P23.4

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจาะ

4.1 กำหนดอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน

102P23.4.01 220923
102P23.4

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจาะ

4.2 กำหนดเครื่องมือตัด

102P23.4.02 220924
102P23.4

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจาะ

4.3 กำหนดวิธีจับยึดชิ้นงาน และตรวจสอบความถูกต้อง

102P23.4.03 220925
102P23.4

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจาะ

4.4 กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจาะ

102P23.4.04 220926
102P23.4

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจาะ

4.5 กำหนดวิธีตรวจสอบขนาด และความถูกต้อง

102P23.4.05 220927

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.   สามารถใช้เครื่องมือกลในการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์

2.   สามารถอ่านแบบแม่พิมพ์

3.   สามารถกำหนดขั้นตอนในการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องมือกล

4.   สามารถกำหนดวิธีจับยึดชิ้นงาน

5.   สามารถกำหนดวิธีการตรวจสอบขนาดชิ้นส่วนแม่พิมพ์

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.   ความรู้เกี่ยวกับวัสดุแม่พิมพ์

2.   ความรู้เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิต

3.   ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

4.   ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือกลในการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์

5.   ความรู้เกี่ยวกับการอ่านแบบแม่พิมพ์

6.   ความรู้เกี่ยวกับวิธีการกำหนดขั้นตอนในการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องมือกล

7.   ความรู้เกี่ยวกับวิธีจับยึดชิ้นงาน

8.   ความรู้เกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบขนาดชิ้นส่วนแม่พิมพ์

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

      หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดเป็นข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria)และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and

Knowledge)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

      1.  แสดงการใช้เครื่องมือกลในการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์

      2.  แสดงการอ่านแบบแม่พิมพ์

      3.  แสดงการกำหนดขั้นตอนในการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องมือกล

      4.  แสดงการกำหนดวิธีจับยึดชิ้นงาน

      5.  แสดงการกำหนดวิธีการตรวจสอบขนาดชิ้นส่วนแม่พิมพ์

      6.  แบบบันทึกขั้นตอนและรายละเอียดการทำงาน

      7.  แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต

(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

      1.  อธิบายเกี่ยวกับวัสดุแม่พิมพ์

      2.  อธิบายเกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิต

      3.  อธิบายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

      4.  อธิบายการใช้เครื่องมือกลในการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์

      5.  อธิบายเกี่ยวกับการอ่านแบบเครื่องกล

      6.  อธิบายวิธีการกำหนดขั้นตอนในการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ด้วยเครื่องมือกล

      7.  อธิบายวิธีการจับยึดชิ้นงาน

      8.  อธิบายวิธีการตรวจสอบขนาดชิ้นส่วนแม่พิมพ์

      9.  แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์

      10.  แบบทดสอบข้อเขียน

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

      ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการกำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์พลาสติก โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้

(ง)    วิธีการประเมิน

     1.  แบบทดสอบการสัมภาษณ์

     2.  แบบทดสอบสังเกตการปฏิบัติงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ 

      1.  ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน

      2.  ผู้เข้ารับการประเมินต้องกำหนดขั้นตอนในการผลิตที่เหมาะสมกับเครื่องจักร

      3.  ผู้เข้ารับการประเมินต้องเขียนขั้นตอนในการทำงานและขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องต่างๆ

(ข)    คำอธิบายรายละเอียด

      การกำหนดขั้นตอนจะต้องกำหนดให้สอดคล้องกับชิ้นงานตัวอย่างที่กำหนดให้เพื่อให้สามารถนำขั้นตอนดังกล่าวไปทำการผลิตชิ้นงานได้จริง

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

      เจ้าหน้าที่สอบประเมินสมรรถนะของผู้เข้ารับการประเมินด้วยเครื่องมือประเมินความรู้ และทักษะ ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะ และความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะ ได้แก่

      1. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์

      2. แบบทดสอบการสังเกตการปฏิบัติงาน

      ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

 



ยินดีต้อนรับ