หน่วยสมรรถนะ
ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องกลึง CNC
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | MLD-KVEM-600A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องกลึง CNC |
3. ทบทวนครั้งที่ | 2 / 2567 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
รหัส ISCO – อาชีพช่างผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ หรือ อาชีพช่างผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์ฉีด |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะการผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องกลึง CNC จะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการทำงาน สามารถเตรียมงานก่อนการปฏิบัติงาน ป้อนและตรวจสอบโปรแกรมคำสั่ง CNC และปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง CNC รวมถึงสามารถตรวจสอบความถูกต้องของขนาดชิ้นส่วนแม่พิมพ์ และบำรุงรักษาเครื่องกลึง CNC เบื้องต้นได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
102MP10.1 ความปลอดภัยในการทำงาน |
1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยในการทำงาน และสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล |
10210.1.01 | 220701 |
102MP10.1 ความปลอดภัยในการทำงาน |
1.2 ตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องมือ และอุปกรณ์ก่อน และหลังปฏิบัติงาน |
10210.1.02 | 220702 |
102MP10.2 การเตรียมก่อนการปฏิบัติงานด้วยเครื่องกลึง CNC |
2.1 กำหนดรายละเอียด และลำดับของการดำเนินงาน |
10210.2.01 | 220703 |
102MP10.2 การเตรียมก่อนการปฏิบัติงานด้วยเครื่องกลึง CNC |
2.2 ป้อน และตรวจสอบโปรแกรมคำสั่ง CNC |
10210.2.02 | 220704 |
102MP10.2 การเตรียมก่อนการปฏิบัติงานด้วยเครื่องกลึง CNC |
2.3 จัดเตรียมเครื่องมือตัด |
10210.2.03 | 220705 |
102MP10.2 การเตรียมก่อนการปฏิบัติงานด้วยเครื่องกลึง CNC |
2.4 จัดเตรียมวัสดุงาน |
10210.2.04 | 220706 |
102MP10.2 การเตรียมก่อนการปฏิบัติงานด้วยเครื่องกลึง CNC |
2.5 จัดเตรียมเครื่องมือวัด |
10210.2.05 | 220707 |
102MP10.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง CNC และการตรวจสอบความถูกต้องชิ้นส่วน |
3.1 จับยึดชิ้นส่วนแม่พิมพ์ และเครื่องมือตัด |
10210.3.01 | 220790 |
102MP10.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง CNC และการตรวจสอบความถูกต้องชิ้นส่วน |
3.2 การปรับตั้งค่าศูนย์ของชิ้นส่วนแม่พิมพ์ และเครื่องมือตัด |
10210.3.02 | 220791 |
102MP10.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง CNC และการตรวจสอบความถูกต้องชิ้นส่วน |
3.3 การปฏิบัติงาน ตรวจสอบ และชดเชยขนาดเครื่องมือตัด |
10210.3.03 | 220792 |
102MP10.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง CNC และการตรวจสอบความถูกต้องชิ้นส่วน |
3.4 ตรวจสอบความถูกต้อง ขนาดของชิ้นส่วนแม่พิมพ์ |
10210.3.04 | 220793 |
102MP10.4 การบำรุงรักษาเครื่องกลึง CNC และอุปกรณ์ |
4.1 ตรวจสอบบำรุงรักษาเบื้องต้น |
10210.4.01 | 220794 |
102MP10.4 การบำรุงรักษาเครื่องกลึง CNC และอุปกรณ์ |
4.2 ดูแลทำความสะอาดเครื่องจักร |
10210.4.02 | 220795 |
102MP10.4 การบำรุงรักษาเครื่องกลึง CNC และอุปกรณ์ |
4.3 ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักรก่อนและหลังปฏิบัติงาน |
10210.4.03 | 220796 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. สามารถอ่านแบบเครื่องกล (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือตัดในงานกลึง |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดเป็นข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria)และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
เจ้าหน้าที่สอบประเมินสมรรถนะของผู้เข้ารับการประเมินด้วยเครื่องมือประเมินความรู้และทักษะ ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะ ได้แก่ |