หน่วยสมรรถนะ
ออกแบบลายบาติกที่มีเอกลักษณ์ตรงตามความต้องการของตลาด
สาขาวิชาชีพอนุรักษ์งานศิลปหัตถกรรมและงานพื้นบ้าน
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | CRA-FKQO-448B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ออกแบบลายบาติกที่มีเอกลักษณ์ตรงตามความต้องการของตลาด |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2567 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ISCO - 08 รหัสอาชีพ 7316 ช่างเขียนลายผ้าบาติก |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ครอบคลุมการเตรียม และเลือกใช้วัสดุ และอุปกรณ์สำหรับผลิตผ้าบาติก โดยสามารถอธิบายระบุประเภทและชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้ผลิตผ้าบาติก และสามารถบำรุงรักษา และจัดเก็บอุปกรณ์ได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ผลิตผ้าบาติก หรือ ปาเต๊ะ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10221 วิเคราะห์แนวโน้มของตลาดแฟชั่นและออกแบบลายที่ทันสมัยและยั่งยืน |
1. ทำการวิจัยตลาดเพื่อระบุแนวโน้มใหม่ๆ ของแฟชั่นที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืน |
10221.01 | 220051 |
10221 วิเคราะห์แนวโน้มของตลาดแฟชั่นและออกแบบลายที่ทันสมัยและยั่งยืน |
2. ออกแบบลายบาติกที่เป็นเอกลักษณ์และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด |
10221.02 | 220052 |
10222 ใช้เทคนิคการออกแบบที่สนับสนุนความยั่งยืน เช่น การใช้สีธรรมชาติ |
1. เลือกใช้สีธรรมชาติจากพืชหรือแร่ธาตุที่สามารถปลูกและผลิตได้ในท้องถิ่น |
10222.01 | 220053 |
10222 ใช้เทคนิคการออกแบบที่สนับสนุนความยั่งยืน เช่น การใช้สีธรรมชาติ |
2. ประยุกต์ใช้เทคนิคการย้อมและการวาดลายที่ลดการใช้สีและลดของเสียในกระบวนการ |
10222.02 | 220054 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1) ทักษะเกี่ยวกับการสืบค้นและวิเคราะห์แนวโน้มแฟชั่น (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1) ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์แนวโน้มตลาดแฟชั่น |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับความรู้ที่ต้องการ (Knowledge Evidence) และหลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
พิจารณาหลักฐานจากแฟ้มสะสมผลงานที่เป็นเอกสารรับรองผลงาน รับรองความรู้ความสามารถที่ผ่านมาก่อนหน้า และให้เจ้าหน้าที่สอบพิจารณาหลักฐานของผู้เข้ารับการประเมิน ในกระบวนการประเมินเทียบโอนประสบการณ์การทำงานเพื่อการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ โดยหลักฐานต้องมีความสอดคล้องตามหน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence: UOC) สมรรถนะย่อย (Element of Competence: EOC) และเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria: PC) |