หน่วยสมรรถนะ
บริหารกลไกการจัดเก็บสัตว์น้ำเพื่อเพิ่มมูลค่า
สาขาวิชาชีพการเดินเรือ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | MRT-QUKZ-215A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | บริหารกลไกการจัดเก็บสัตว์น้ำเพื่อเพิ่มมูลค่า |
3. ทบทวนครั้งที่ | ์N/A / N/A |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
รหัส ISCO |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะบริหารกลไกลในการจัดเก็บสัตว์น้ำด้วยวิธีการที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและมูลค่าของสัตว์น้ำให้สูงขึ้นได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมการเดินเรือประมงพาณิชย์ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
- มาตรฐานอาหารแช่แข็ง (มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มกอช. 7014 - 2548)- กฎกระทรวง การขอจดทะเบียนและการรับจดทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
FH60701 ประเมินประสิทธิภาพกระบวนการเก็บ รักษาสัตว์น้ำ |
1.1 ตรวจสอบบันทึกอุณหภูมิและรายงาน สภาพสัตว์น้ำ |
FH60701.01 | 221818 |
FH60701 ประเมินประสิทธิภาพกระบวนการเก็บ รักษาสัตว์น้ำ |
1.2 ประเมินประสิทธิภาพของระบบทำความเย็นที่ใช้ได้อย่างเหมาะสม |
FH60701.02 | 221819 |
FH60701 ประเมินประสิทธิภาพกระบวนการเก็บ รักษาสัตว์น้ำ |
1.3 ดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บ รักษาสัตว์น้ำ |
FH60701.03 | 221820 |
FH60702 ประเมินประสิทธิภาพในการขนย้ายสัตว์ น้ำ |
2.1 วางแผนการขนย้ายสัตว์น้ำ |
FH60702.01 | 221821 |
FH60702 ประเมินประสิทธิภาพในการขนย้ายสัตว์ น้ำ |
2.2 ประเมินประสิทธิภาพการขนย้ายสัตว์น้ำ |
FH60702.02 | 221822 |
FH60702 ประเมินประสิทธิภาพในการขนย้ายสัตว์ น้ำ |
2.3 ดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพในการขน ย้ายสัตว์น้ำ |
FH60702.03 | 221823 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
- ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพผู้ควบคุมเรือประมง ระดับ 4 และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานระดับ 4 อย่างน้อย 12 เดือน |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ - ทักษะการจัดเก็บสัตว์น้ำ (ข) ความต้องการด้านความรู้ - ความรู้ในการจำแนกประเภทสัตว์น้ำ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
การเก็บรักษาสัตว์น้ำภายใต้หน่วยสมรรถนะนี้ มุ่งเน้นหลักสำคัญที่การป้องกันหรือชะลอการเน่าเสียของสัตว์น้ำให้ช้าลง โดยจะต้องมีการดูแลและเอาใจใส่อย่างดีตามชนิดและประเภทของสัตว์น้ำ และมีความครอบคลุมตั้งแต่การจับสัตว์น้ำ การลำเลียงขนส่งบนเรือ สถานที่เก็บรักษาบนเรือ ตลอดจนการแปรรูปเบื้องต้นบนเรือ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
- การสอบข้อเขียน |