หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

เลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับเครื่องมือแพทย์

สาขาวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MET-XLTA-401A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ เลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับเครื่องมือแพทย์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2567

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO 722 ช่างเหล็ก ช่างทำเครื่องมือ และผู้ปฏิบัติงานในธุรกิจที่เกี่ยวข้อง



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความสามารถในการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์และกำหนดวิธีการบรรจุเครื่องมือแพทย์ในบรรจุภัณฑ์ โดยสามารถเลือกวัสดุและประเภทบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมตามคุณลักษณะและการใช้งานเครื่องมือแพทย์ได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์  สาขาการผลิตเครื่องมือแพทย์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
102MM24.1

ระบุคุณลักษณะของเครื่องมือแพทย์

1.1 เข้าใจประเภทและลักษณะการใช้งานของเครื่องมือแพทย์

102MM24.1.01 217883
102MM24.1

ระบุคุณลักษณะของเครื่องมือแพทย์

1.2 บ่งชี้ความเสี่ยงในการนำเครื่องมือแพทย์ขณะขนย้าย

102MM24.1.02 217884
102MM24.2

เลือกบรรจุภัณฑ์

2.1 เลือกวัสดุและประเภทบรรจุภัณฑ์

102MM24.2.01 217885
102MM24.2

เลือกบรรจุภัณฑ์

2.2 ทดลองบรรจุและตรวจสอบความปลอดภัยตามความเสี่ยงที่บ่งชี้

102MM24.2.02 217886
102MM24.2

เลือกบรรจุภัณฑ์

2.3 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของการบรรจุ 

102MM24.2.03 217887
102MM24.3

กำหนดวิธีบรรจุ

3.1 กำหนดวิธีการบรรจุจากผลการตรวจสอบ

102MM24.3.01 217888
102MM24.3

กำหนดวิธีบรรจุ

3.2 ถ่ายทอดวิธีการบรรจุไปยังผู้ปฏิบัติงาน

102MM24.3.02 217889

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    สามารถวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการขนย้าย

2.    สามารถวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเปิดใช้งาน

3.    สามารถอธิบายลักษณะของเครื่องมือแพทย์

4.    สามารถสรุปประเด็น ข้อควรระวัง ในการบรรจุ

5.    สามารถกำหนดวิธีการบรรจุเป็น Work Instruction

6.    สามารถถ่ายทอดวิธีการบรรจุ

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ความรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์และวัสดุบรรจุภัณฑ์

2.    ความรู้เรื่องกระบวนการบรรจุ

3.    ความรู้เกี่ยวกับการขนย้ายวัสดุ

4.    ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำ Work Instruction

5.    ความรู้เกี่ยวกับการสอนงาน

6.    ความรู้ด้าน Quality Control

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

      1.    เอกสารรับรองการทำงานด้านการเลือกบรรจุภัณฑ์จากสถานประกอบการ หรือ

      2.    แบบบันทึกรายการผลจากการการสังเกตการณ์ ณ หน้างานจริง

(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

      1.    เอกสารรับรองผลการเรียนที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์ หรือ

      2.    เอกสารรับรองผลการอบรมที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์ หรือ

      3.    แบบบันทึกผลคะแนนการสอบข้อเขียน 

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

      เจ้าหน้าที่สอบตรวจประเมินหลักฐานโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้

(ง)    วิธีการประเมิน

      1.    พิจารณาตามหลักฐานความรู้ โดยประเมินจากข้อสอบข้อเขียน หรือการอบรม

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ 

      1.    ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความเข้าใจด้านการวิเคราะห์ความเสี่ยงของเครื่องมือแพทย์

      2.    ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับการทำ Qualification & Validation

      3.    ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความเข้าใจประเภทของเครื่องมือแพทย์

(ข)    คำอธิบายรายละเอียด

      1.    เครื่องมือแพทย์ หมายถึง เครื่องมือแพทย์ ตามนิยาม เครื่องมือแพทย์ ที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2562

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินการระบุคุณลักษณะของเครื่องมือแพทย์

      1.    ประเมินโดยการสอบข้อเขียน

      2.    ประเมินจากรายละเอียดการผ่านการอบรมด้านบรรจุภัณฑ์เครื่องมือแพทย์

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.2 เครื่องมือประเมินการเลือกบรรจุภัณฑ์

      1.    ประเมินโดยการสอบข้อเขียน

      2.    ประเมินจากรายละเอียดการผ่านการอบรมด้านบรรจุภัณฑ์เครื่องมือแพทย์

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.3 เครื่องมือประเมินการกำหนดวิธีบรรจุ

      1.    ประเมินโดยการสอบข้อเขียน

      2.    ประเมินจากรายละเอียดการผ่านการอบรมด้านบรรจุภัณฑ์เครื่องมือแพทย์

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน





 



ยินดีต้อนรับ