หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

คำนวณโดยใช้คณิตศาสตร์เบื้องต้น

สาขาวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MET-MHCA-402A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ คำนวณโดยใช้คณิตศาสตร์เบื้องต้น

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2567

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO 722 ช่างเหล็ก ช่างทำเครื่องมือ และผู้ปฏิบัติงานในธุรกิจที่เกี่ยวข้อง

ISCO 821 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ

 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการคำนวณที่หลากหลาย เช่น การคำนวณทางเรขาคณิต การคำนวณตรีโกณมิติ และการแปลงหน่วย ซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานที่จำเป็นในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการวัดและวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์  สาขาการผลิตเครื่องมือแพทย์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
102MC01.1

คำนวณเรขาคณิต

1.1 สร้างรูปทรงทางเรขาคณิต

102MC01.1.01 217903
102MC01.1

คำนวณเรขาคณิต

1.2 คำนวณหาขนาดและมิติรูปทรงทางเรขาคณิต

102MC01.1.02 217904
102MC01.2

คำนวณตรีโกณมิติ

2.1 คำนวณหาค่าทางตรีโกณมิติ

102MC01.2.01 217905
102MC01.2

คำนวณตรีโกณมิติ

2.2 คำนวณหาค่าด้วยกฏของตรีโกณมิติ

102MC01.2.02 217906
102MC01.3

แปลงหน่วย

3.1 ระบุค่าของ Prefix ของหน่วยการวัด

102MC01.3.01 217907
102MC01.3

แปลงหน่วย

3.2 เปลี่ยนหน่วยเพื่อนำไปใช้งาน

102MC01.3.02 217908

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.   ความสามารถในการใช้เครื่องคำนวณ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ความรู้ด้านรูปทรงเรขาคณิต

2.    การคำนวณพีชคณิตพื้นฐาน

3.    ความรู้เกี่ยวกับสูตรเพื่อคำนวณขนาดและมิติรูปทรง

4.    ความรู้ด้านการคำนวณขนาดและมิติรูปทรง

5.    ความรู้ด้านตรีโกณมิติ

6.    ความรู้เกี่ยวกับพีทาโกรัส

7.    ความรู้เกี่ยวกับกฏของ Sine และ Cosine

8.    ความรู้เกี่ยวกับหน่วยการวัดทางวิทยาศาสตร์

9.    ความรู้เกี่ยวกับ Prefix 

10.    ความรู้ด้านการแปลงหน่วย และแปลง Pre-fix

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

      N/A

(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

      1.    แบบบันทึกผลคะแนนการสอบข้อเขียน 

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

      เจ้าหน้าที่สอบตรวจประเมินหลักฐานโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานด้านความรู้ที่เกี่ยวข้อง

(ง)    วิธีการประเมิน

      1.    พิจารณาตามหลักฐานความรู้ โดยประเมินจากข้อสอบข้อเขียน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ 

      1.    ผู้เข้ารับการประเมินควรมีทักษะในการใช้เครื่องคิดเลขเพื่อช่วยคำนวณ

      2.    ผู้เข้ารับการประเมินควรทราบสูตรตรีโกณมิติ การหาพื้นที่และปริมาตรของรูปทรง รวมถึงค่า Prefix

(ข)    คำอธิบายรายละเอียด

      1.    คำนวณหาขนาดและมิติ หมายถึง การคำนวณ เส้นรอบรูป พื้นที่ ปริมาตร น้ำหนัก ความหนาแน่น และมวล

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินการคำนวณเรขาคณิต

      1.    ประเมินโดยการสอบข้อเขียน 

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.2 เครื่องมือประเมินการคำนวณตรีโกณมิติ

      1.    ประเมินโดยการสอบข้อเขียน 

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.3 เครื่องมือประเมินการแปลงหน่วย

      1.    ประเมินโดยการสอบข้อเขียน 

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ