หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่าในสถานการณ์เหตุฉุกเฉิน

สาขาวิชาชีพรักษาความปลอดภัย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ SEC-YAXN-071A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่าในสถานการณ์เหตุฉุกเฉิน

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2567

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO รหัส    5414    เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (รปภ.)

ISCO รหัส    5414    พนักงานรักษาความปลอดภัย

ISCO รหัส    5414    หัวหน้าคุมงานรักษาความปลอดภัย

ISCO รหัส    5414    หัวหน้าเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย

ISCO รหัส    5414    หัวหน้าแผนกรักษาความปลอดภัย

ISCO รหัส    5414    หัวหน้าพนักงานรักษาความปลอดภัย


1 5414 พนักงานรักษาความปลอดภัย

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถรายงานสถานการณ์ของภัยคุกคามที่พบในระหว่างการเดินทางขนส่งทรัพย์สินมีค่า ปฏิบัติการระงับเหตุผิดปกติเบื้องต้นในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการรักษาความปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อาชีพรักษาความปลอดภัยขนส่งทรัพย์สินมีค่า

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
06231

รายงานสถานการณ์ของภัยคุกคามที่พบในระหว่างการเดินทางขนส่งทรัพย์สินมีค่า

1. ติดต่อหัวหน้าชุดและผู้ควบคุมเพื่อแจ้งสถานการณ์ภัยคุกคามและความไม่ปลอดภัยที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินในระหว่างการเดินทาง

06231.01 217258
06231

รายงานสถานการณ์ของภัยคุกคามที่พบในระหว่างการเดินทางขนส่งทรัพย์สินมีค่า

2. ปฎิบัติตามคำสั่งการเผชิญเหตุจากหัวหน้าชุดและผู้ควบคุมเพื่อการรักษาทรัพย์สินมีค่าให้เกิดความปลอดภัย 

06231.02 217259
06232

ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการรักษาความปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า

1. ปฎิบัติตามแผนเผชิญเหตุเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดแก่ทรัพย์สินมีค่า 

06232.01 217260
06232

ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการรักษาความปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า

2. ปฎิบัติการป้องกันทรัพย์สินมีค่าตามคำสั่งของหัวหน้าชุดและผู้ควบคุมการขนส่งทรัพย์สินมีค่า 

06232.02 217261
06233

ปฏิบัติการระงับเหตุผิดปกติเบื้องต้นในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า

1. ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับเพื่อเข้าควบคุมเหตุการณ์ความผิดปกติ 

06233.01 217262
06233

ปฏิบัติการระงับเหตุผิดปกติเบื้องต้นในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า

2. ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ประกันภันภัยเพื่อพิจารณาชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สิน 

06233.02 217263

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

  • ความรู้และทักษะในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • ความรู้และทักษะในการจัดเก็บหลักฐานความผิดปกติเบื้องต้น

  • ความรู้และทักษะในการปฎิบัติตามแผนเผชิญเหตุ

  • ทักษะการใช้อาวุธปืน


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  • ทักษะการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ตรวจสอบความผิดปกติ เช่นกล้องวงจรปิดประจำพาหนะ หรือ GPS ประจำพาหนะ รวมถึงอาวุธปืน

  • ทักษะการประสานงานแจ้งเหตุผิดปกติไปยังศูนย์การบังคับบัญชารักษาความปลอดภัยขนส่งทรัพย์สินมีค่า

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  • ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบเครื่องมืออุปกรณ์ในการป้องกันทรัพย์สินมีค่า

  • ความรู้เกี่ยวกับการจดบันทึกการเกิดเหตุ

  • ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติการแผนเผชิญเหตุ

  • ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติรักษาความปลอดภัย พ.ศ.๒๕๕๘


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




  • เอกสารเกี่ยวกับรายละเอียดการปฎิบัติการป้องกันภัยคุกคามต่อทรัพย์สินมีค่าในกรณีเกิดเหตุการณ์ไม่ปกติ

  • เอกสารบันทึกการใช้งานของเครื่องมืออุปกรณ์ในการป้องกันทรัพย์สินมีค่าจากภัยคุกคาม

  • เอกสารเกี่ยวกับบันทึกการเกิดเหตุการณ์ผิดปกติ

  • เอกสารเกี่ยวกับการประกันภัยทรัพย์สินมีค่า



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)




  • เอกสารความรู้เกี่ยวกับมาตรการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการขนส่งทรัพย์สินมีค่า

  • เอกสารความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัยขนส่งทรัพย์สินมีค่า

  • เอกสารความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบันทึกการรับแจ้งเหตุผิดปกติมีค่าจากผู้ว่าจ้าง

  • เอกสารความรู้เกี่ยวกับมาตรการรักษาความปลอดภัยการขนส่งทรัพย์สินมีค่าในกรณีเกิดเหตุการณ์ผิดปกติ

  • ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติรักษาความปลอดภัย พ.ศ.๒๕๕๘



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ประเมินโดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน



2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

ทำหน้าที่แจ้งเหตุฉุกเฉินโดยการกดปุ่มสัญญาณแจ้งเหตุเบื้องต้น รู้จักพื้นที่และเส้นทาง ปฏิบัติการระงับเหตุผิดปกติเบื้องต้นในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า และประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง



(ก) คำแนะนำ



-



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ บริษัทประกันภัย  เจ้าหน้าที่ตำรวจ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน หน่วยสมรรถนะย่อย 06231 รายงานสถานการณ์ของภัยคุกคามที่พบในระหว่างการเดินทางขนส่งทรัพย์สินมีค่า



1. แบบทดสอบข้อเขียน



2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



3. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



18.2 เครื่องมือการประเมิน หน่วยสมรรถนะย่อย 06232 ปฏิบัติการระงับเหตุผิดปกติเบื้องต้นในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า



1. แบบทดสอบข้อเขียน



2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



3. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



18.3 เครื่องมือการประเมิน หน่วยสมรรถนะย่อย 06233 ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการรักษาความปลอดภัยในการขนส่งทรัพย์สินมีค่า



1. แบบทดสอบข้อเขียน



2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



3. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน




 


ยินดีต้อนรับ