หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

วิเคราะห์ข้อมูลของผู้เข้ารับการอบรมต่อขนตา

สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวยและเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HDS-CPXQ-323B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ วิเคราะห์ข้อมูลของผู้เข้ารับการอบรมต่อขนตา

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2567

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO 2359 ผูประกอบวิชาชีพด้านการสอน



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้ครอบคลุมการวิเคราะห์ความรู้พื้นฐานของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเพื่อวางแผนการสอนที่เหมาะสม ศึกษาระดับความรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการต่อขนตา วัดระดับความรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเพื่อกำหนดแนวทางการสอนต่อขนตา

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้สอนเสริมสวย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
พระราชบัญญัติกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.2560 คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข ข้อบัญญัติท้องถิ่น หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการประกอบกิจการ พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2558 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. 

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
2140101

รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อขนตา

1 รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ระดับความรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม 

2140101.01 217070
2140101

รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อขนตา

2 วิเคราะห์ข้อมูลของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง 

2140101.02 217071
2140102

วิเคราะห์ข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อขนตา

1 เลือกเครื่องมือที่ใช้วัดระดับความรู้ของผู้ที่จะเข้ารับการฝึกอบรมได้ถูกต้อง

2140102.01 217072
2140102

วิเคราะห์ข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อขนตา

2 นำผลการวัดไปประเมินความต้องการฝึกอบรมเพื่อเตรียมการฝึกอบรม

2140102.02 217073

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  1. ทักษะการถ่ายทอด การสอน

  2. ทักษะการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอน

  3. ทักษะการทำความเข้าใจผู้เรียน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรฝึกอบรม



2. ความรู้เกี่ยวกับการต่อขนตา ข้อจำกัดและสุขอนามัยในการต่อขนตา


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



     1.  เอกสารประเมินผลการสัมภาษณ์



     2. แฟ้มสะสมผลงาน



 (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



     1.  เอกสารประเมินผลการสัมภาษณ์



     2. แฟ้มสะสมผลงาน



 (ค) คำแนะนำในการประเมิน



พิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



ประเมินความรู้และทักษะด้วยการสัมภาษณ์ แฟ้มสะสมผลงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

วิเคราะห์ความรู้พื้นฐานของผู้เข้ารับการฝึกอบรม รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ และวิเคราะห์ข้อมูลระดับการศึกษาและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีพของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเพื่อเตรียมการฝึกอบรม



(ก) คำแนะนำ



ผู้รับการประเมินสามารถวิเคราะห์ความต้องการของผู้เข้ารับการอบรมได้ สามารถให้คำแนะนำผู้เข้ารับการอบรมว่าควรเรียนในระดับใด



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



…………………………………………….N/A……………………………………………………………


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

        18.1 เครื่องมือประเมิน (รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อขนตา)



1) แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



2) แฟ้มสะสมผลงาน



          18.2 เครื่องมือประเมิน (วิเคราะห์ข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อขนตา)



1) แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



2) แฟ้มสะสมผลงาน



ยินดีต้อนรับ