หน่วยสมรรถนะ
รำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง
สาขาวิชาชีพอนุรักษ์งานศิลปหัตถกรรมและงานพื้นบ้าน
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | CRA-FPGS-440B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | รำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ISCO - 08 รหัสอาชีพ 2655 นักแสดงโขน/ละครใน/ละครนอก |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ประกอบไปด้วยความรู้และทักษะในการรำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง โดยสามารถอธิบายและปฏิบัตินาฏยศัพท์ในการรำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง เช่น เต้นฉะ เลาะเลาะ เก้ง หย่อง ยักคอ ปีกกา ลงวง จีบสอดสูง กระทืบสามเหลี่ยม กระทืบฟัน กระทืบกลับ ผาลา แทงพระขรรค์ เก็บ ตะลึกตึก ป้องหน้า เดินมือ กระโดดคว้า เป็นต้น และแสดงการรำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิงตามที่กำหนด เช่น เพลงตระนิมิต เพลงรุกร้น เพลงเสมอข้ามสมุทร เป็นต้น |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
นักแสดงโขน |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01411 อธิบายนาฏยศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ในการรำเพลงหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง |
1. อธิบายความหมายนาฏยศัพท์ที่เกี่ยวข้องในการรำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง |
01411.01 | 216494 |
01411 อธิบายนาฏยศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ในการรำเพลงหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง |
2. อธิบายความหมายของเพลงหน้าพาทย์ และโอกาสในการนำไปใช้ |
01411.02 | 216495 |
01412 รำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิงตามที่กำหนด |
1. ปฏิบัติกระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง ที่กำหนด |
01412.01 | 216496 |
01412 รำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิงตามที่กำหนด |
2. ปฏิบัติท่ารำเพลงหน้าพาทย์นักแสดงสมทบ โขนลิง ตรงตามจังหวะหน้าทับ ไม้กลองและทำนองเพลง |
01412.02 | 216497 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ ปฏิบัติกระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิงตรงตามจังหวะหน้าทับ ไม้กลองและทำนองเพลง ได้ถูกต้องตาม ตามเพลงที่กำหนด (ข) ความต้องการด้านความรู้ รู้นาฏยศัพท์พื้นฐาน ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะท่ารำที่ใช้ในการฝึกหัด เพื่อใช้ในการรำหน้าพาทย์นักแสดงสมทบโขนลิง ในการแสดงโขน ซึ่งเป็นคำศัพท์ที่สามารถสื่อความหมายในการแสดงต่าง ๆ ของวงการนาฏศิลป์ไทย |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
พิจารณาหลักฐานจากแฟ้มสะสมผลงานที่เป็นเอกสารรับรองผลงาน รับรองความรู้ความสามารถที่ผ่านมาก่อนหน้าและให้ประเมินสมรรถนะของผู้เข้ารับการประเมินด้วยเครื่องมือประเมินความรู้และทักษะให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะนี้ |