หน่วยสมรรถนะ
ประเมินผลประกอบการของธุรกิจเสริมสวย
สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวยและเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | HDS-SSRI-288B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ประเมินผลประกอบการของธุรกิจเสริมสวย |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2567 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ISCO 1211 ผู้จัดการด้านการบริการธุรกิจและการบริหารจัดการและการพาณิชย์ ISCO 1221 ผู้จัดการด้านการขาย การตลาด และการพัฒนา |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ครอบคลุมการวิเคราะห์อัตราการเจริญเติบโตทางการตลาด วิเคราะห์การขาย วิเคราะห์สัดส่วนในการครองตลาด วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางการตลาด วัดผลการทำงานโดยการวิเคราะห์ยอดขาย กำไร ส่วนครองตลาด Market share จัดทำงบประมาณงบกำไรขาดทุน วิเคราะห์ทางการเงิน |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้บริหารธุรกิจเสริมสวย |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
พระราชบัญญัติกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.2560 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์ มาตรการควบคุมการประกอบกิจการสักผิวหนังหรือเจาะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย พ.ศ.2562 คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข ข้อบัญญัติท้องถิ่น หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการประกอบกิจการ พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2558 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
3110701 วิเคราะห์งบการเงิน และวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน |
1. มีความรู้ในการลงบัญชีแยกประเภทและจัดทำงบการเงิน |
3110701.01 | 216558 |
3110701 วิเคราะห์งบการเงิน และวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน |
2. วิเคราะห์งบการเงิน ประเภทงบกำไรขาดทุนได้ |
3110701.02 | 216559 |
3110701 วิเคราะห์งบการเงิน และวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน |
3. วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่จำเป็นสำหรับธุรกิจเสริมสวยได้ |
3110701.03 | 216560 |
3110701 วิเคราะห์งบการเงิน และวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน |
4. มีความรู้ในการนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ในการขยาย ปรับปรุง พัฒนาธุรกิจ |
3110701.04 | 216561 |
3110702 กำกับดูแลให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ |
1. ใช้หลักจรรยาบรรณวิชาชีพในการดำเนินธุรกิจ |
3110702.01 | 216562 |
3110702 กำกับดูแลให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ |
2. มีความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ |
3110702.02 | 216563 |
3110702 กำกับดูแลให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ |
3. มีความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพส่วนบุคคล |
3110702.03 | 216564 |
3110702 กำกับดูแลให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ |
4. มีความรับผิดชอบต่อสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม |
3110702.04 | 216565 |
3110702 กำกับดูแลให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ |
5. ดำเนินธุรกิจตามกฏหมาย
ระเบียบ ประกาศและข้อบังคับของรัฐ |
3110702.05 | 216566 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารประเมินผลการสัมภาษณ์ 2. แฟ้มสะสมผลงาน (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารประเมินผลการสัมภาษณ์ 2. แฟ้มสะสมผลงาน (ค) คำแนะนำในการประเมิน พิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้
ประเมินความรู้และทักษะด้วยการสัมภาษณ์ และ แฟ้มสะสมผลงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
วิเคราะห์งบการเงิน วิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุน ใช้หลักจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ
ผู้รับการประเมินสามารถวิเคราะห์ทางการเงิน วิเคราะห์อัตราการเจริญเติบโตทางการตลาด วิเคราะห์การขาย วิเคราะห์สัดส่วนในการครองตลาด วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางการตลาด วัดผลการทำงานโดยการวิเคราะห์ยอดขาย กำไร ส่วนครองตลาด Market share จัดทำงบประมาณงบกำไรขาดทุน วิเคราะห์ทางการเงิน จรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ. กำหนดขอบเขต มาตรฐานความประพฤติ การรักษาความลับ การเก็บรักษาข้อมูลและการใช้ข้อมูลภายในการปฏิบัติต่อลูกค้าที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม
การประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยการวิเคราะห์มุมมอง 4 ด้าน Balanced Scorecard คือระบบการบริหารงานและประเมินผลทั่วทั้งองค์กร และไม่ใช่เฉพาะเป็นระบบการ วัดผลเพียงอย่างเดียว แต่จะเป็นการกําหนดวิสัยทัศน์ (vision) และแผนกลยุทธ์ (strategic plan) แล้ว แปลผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดําเนินงานของแต่ละฝายงานและแต่ละคน โดยระบบของ Balanced Scorecard จะเป็นการจัดหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงการดําเนินงาน โดย พิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นของกระบวนการทํางานภายในองค์กร และผลกระทบจากลูกค้าภายนอกองค์กรมา นํามาปรับปรุงสร้างกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพดีและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น ในการพัฒนาองค์กรนั้น สามารถวัด และ ประเมินได้จากการมองผานมุมมองของระบบการวัดและประเมินผลใน 4 ด้านหลัก คือ 1. มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective; F) 2. มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective; C) 3. มุมมองด้านการดําเนินการภายใน (Internal Perspective; I) 4. มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนาการ (Learning and Growth; L) ดังนั้น BSC จึงเป็นเสมือนเครื่องมือหรือกลไกในการวางแผนและบริหารกลยุทธ์ที่มีการ กําหนดมุมมองทั้ง 4 ด้าน เพื่อให้เกิดความสมดุลในการพัฒนาองค์กร จนบรรลุแผนกลยุทธ์ที่ได้วางไวในที่สุด
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมิน (วิเคราะห์งบการเงิน วิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุน) 1) แบบทดสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก 2) แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ 3) แฟ้มสะสมผลงาน 18.2 เครื่องมือประเมิน (กำกับดูแลให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ) 1) แบบทดสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก 2) แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ 3) แฟ้มสะสมผลงาน |