หน่วยสมรรถนะ
แต่งหน้าเจ้าสาว
สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวยและเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | HDS-FMOM-256B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | แต่งหน้าเจ้าสาว |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2567 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ISCO 5142 ช่างเสริมสวยและผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ครอบคลุมการแต่งหน้าเจ้าสาว เตรียมสภาพผิวหน้า จัดหาเครื่องสำอางที่เหมาะสม สร้างสีสันบนใบหน้าเพื่อความสวยงามและปรับปรุงสัดส่วนที่บกพร่องเพื่อการแต่งหน้าเจ้าสาว |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อาชีพช่างเสริมสวย |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
พระราชบัญญัติกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.2560 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์ มาตรการควบคุมการประกอบกิจการสักผิวหนังหรือเจาะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย พ.ศ.2562 คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข ข้อบัญญัติท้องถิ่น หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการประกอบกิจการ พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2558 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
1130601 | 1. เตรียมสภาพผิวหน้า และจัดหาเครื่องสำอางที่เหมาะสมสำหรับการแต่งหน้าเจ้าสาว |
1130601.01 | 216230 |
1130601 | 2. สามารถแก้ปัญหาทุกส่วนบนใบหน้าและสภาพผิวหน้าได้ด้วยการจัดแต่งทรงคิ้ว
ตา แก้ม และปาก |
1130601.02 | 216231 |
1130601 | 3.
สามารถออกแบบการแต่งหน้าให้เข้ากับรูปหน้าได้ เสริมจุดเด่น
และลดจุดด้อยของใบหน้าเดิมโดยการอกแบบทรงคิ้ว ตา แก้ม ปาก ให้สวยงาม |
1130601.03 | 216232 |
1130602 | 1.สามารถแต่งหน้าให้เหมาะสมกลมกลืนกับสัดส่วนของใบหน้า |
1130602.01 | 216233 |
1130602 | 2.
สามารถโทนการแต่งหน้าให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของแสง และสี
ของงานแต่งงาน |
1130602.02 | 216234 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ ทักษะในการจัดแต่งทรงคิ้ว ตา แก้ม ปาก และสร้างสีสันบนใบหน้าเพื่อความสวยงาม (ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารผลการสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก 2. เอกสารประเมินผลการสัมภาษณ์ 3. เอกสารประเมินผลสังเกตการปฏิบัติงาน (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารผลการสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก 2. เอกสารประเมินผลการสัมภาษณ์ 3. เอกสารประเมินผลสังเกตการปฏิบัติงาน (ค) คำแนะนำในการประเมิน พิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ (ง) วิธีการประเมิน ประเมินความรู้และทักษะโดยการสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก การสัมภาษณ์ และสาธิตการปฏิบัติงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
แต่งหน้าเจ้าสาว โดยเตรียมสภาพผิวหน้า จัดหาเครื่องสำอางที่เหมาะสม จัดแต่งทรงคิ้ว ตา แก้ม ปาก สร้างสีสันบนใบหน้าเพื่อความสวยงามและปรับปรุงสัดส่วนที่บกพร่อง ให้เหมาะสมกับเจ้าสาวและงานแต่งงาน
ผู้รับการประเมินต้องมีความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการใช้สี การเลือกสีให้เหมาะสม สามารถวิเคราะห์องค์รวมโดยรวมเพื่อให้การแต่งหน้าเหมาะสมกับเสื้อผ้า ใบหน้า และ ทรงผม สามารถให้คำปรึกษาด้านความงามเพื่อแก้ปัญหาความงามให้ลูกค้าได้ สามารถแต่งหน้าเจ้าสาว จัดแต่งทรงคิ้ว ตา แก้ม ปาก ให้สวยงามเหมาะสมกับใบหน้า สร้างสีสันบนใบหน้าเพื่อความสวยงามและปรับปรุงสัดส่วนที่บกพร่อง
…………………………………………….N/A…………………………………………………………… |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมิน (จัดแต่งทรงคิ้ว ตา แก้ม ปาก ให้สวยงามเหมาะสมกับใบหน้าเจ้าสาว) 1) แบบทดสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก 2) แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ 3) แบบประเมินผลสังเกตการปฏิบัติงาน 18.2 เครื่องมือประเมิน (สร้างสีสันบนใบหน้าเพื่อความสวยงามของเจ้าสาว) 1) แบบทดสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก 2) แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ 3) แบบประเมินผลสังเกตการปฏิบัติงาน |