หน่วยสมรรถนะ
ออกแบบและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ของเยาวชน
สาขาวิชาชีพธุรกิจบริการ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | PET-TFUP-071B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ออกแบบและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ของเยาวชน |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
เจ้าหน้าที่ให้บริการเยาวชน 1 3412 ผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานสังคมสงเคราะห์ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ เป็นผู้มีความรู้และสามารถในการออกแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเยาวชน ทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะดิจิทัล สามารถประเมินความต้องการการเรียนรู้ของเยาวชน ตลอดจนความพร้อมของทรัพยากรที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ของเยาวชนผ่านทั้งระบบออนไลน์และออฟไลน์ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ทำงานกับเยาวชน |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
- อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก - พ.รบ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546- พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560- พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไข้ฉบับเพิ่มเติม พ.ศ. 2545- พ.ร.บ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
30311 ประเมินความต้องการและความปรารถนาการเรียนรู้ของเยาวชน |
1.ร่วมกับเยาวชนในการประเมินความต้องการในการเรียนรู้ของเยาวชน |
30311.01 | 212506 |
30311 ประเมินความต้องการและความปรารถนาการเรียนรู้ของเยาวชน |
2.ส่งเสริมเยาวชนให้ออกแบบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของตนเอง |
30311.02 | 212507 |
30312 ร่วมกับเยาวชนในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะดิจิทัล |
1.ร่วมกับเยาวชนในการกำหนดเป้าหมายในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และระบุรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะดิจิทัลของเยาวชน |
30312.01 | 212509 |
30312 ร่วมกับเยาวชนในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะดิจิทัล |
2.ใช้เครื่องมือดิจิทัล โปรแกรมคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเยาวชน |
30312.02 | 212510 |
30312 ร่วมกับเยาวชนในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะดิจิทัล |
3.สนับสนุนเยาวชนให้สามารถควบคุมความสัมพันธ์ของตนกับการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยีผ่านการคิดเชิงวิพากษ์ |
30312.03 | 212511 |
30313 ประเมินความพร้อมของทรัพยากร เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ของเยาวชน |
1.รวบรวมข้อมูลทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของกลุ่มเยาวชนต่าง ๆ |
30313.01 | 213872 |
30313 ประเมินความพร้อมของทรัพยากร เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ของเยาวชน |
2.วิเคราะห์ข้อมูลการบริการจากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน และองค์กรภาคประชาสังคมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของเยาวชน |
30313.02 | 213873 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม และทักษะดิจิทัล |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ หรือรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางปัญญา โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางปัญญาเพื่อสนับสนุนให้เยาวชนใช้ความรู้หรือสิ่งที่ได้รับจากการเรียนรู้นั้นในการแก้ปัญหาและพัฒนาตนเอง (ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2561) |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. ข้อสอบปรนัย |