หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัด จำนวน 1 ชิ้น

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ -KNWT-013A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัด จำนวน 1 ชิ้น

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักดนตรี นักร้อง และนักประพันธ์เพลง รหัส 2652


1 2652 นักดนตรี นักร้อง และนักประพันธ์เพลง

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
เป็นผู้มีความรู้และความสามารถในการบรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัด จำนวน 1 ชั้น

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
นักดนตรี

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
-

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
-

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
101011

อธิบายส่วนประกอบ วิธีการบรรเลงและวิธีการรักษาซ่อม
บำรุงของเครื่องดนตรี

1. บอกส่วนประกอบต่างๆของเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือก
บรรเลง

101011.01 153268
101011

อธิบายส่วนประกอบ วิธีการบรรเลงและวิธีการรักษาซ่อม
บำรุงของเครื่องดนตรี

2. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆของเครื่องดนตรีที่
ตนเองเลือกบรรเลง

101011.02 153269
101011

อธิบายส่วนประกอบ วิธีการบรรเลงและวิธีการรักษาซ่อม
บำรุงของเครื่องดนตรี

3. บรรยายหลักการวิธีการเทียบเสียงเครื่องดนตรีที่ตนเอง
เลือกบรรเลง

101011.03 153270
101011

อธิบายส่วนประกอบ วิธีการบรรเลงและวิธีการรักษาซ่อม
บำรุงของเครื่องดนตรี

4. บรรยายวิธีการปฏิบัติของเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือก
บรรเลง

101011.04 153271
101011

อธิบายส่วนประกอบ วิธีการบรรเลงและวิธีการรักษาซ่อม
บำรุงของเครื่องดนตรี

5. บรรยายลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือก
บรรเลง

101011.05 153272
101011

อธิบายส่วนประกอบ วิธีการบรรเลงและวิธีการรักษาซ่อม
บำรุงของเครื่องดนตรี

6. บรรยายวิธีการเก็บรักษาเครื่องดนตรีที่ตนเลือกบรรเลง

101011.06 153273
101012

บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกได้ถูกต้องตามวิธีการบรรเลง

1. ตรวจสอบและเลือกใช้เครื่องดนตรีพร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ในการเลือก/ไม่เลือก เครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกบรรเลง 

101012.01 153292
101012

บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกได้ถูกต้องตามวิธีการบรรเลง

2. ปฏิบัติการเทียบเสียง/บอกระดับเสียง (เพี้ยน/ไม่เพี้ยน) ของเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกตามระดับมาตรฐานของเครื่อง
ดนตรีนั้นๆ

101012.02 153293
101012

บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกได้ถูกต้องตามวิธีการบรรเลง

3. ปฏิบัติท่านั่ง ท่าจับเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกบรรเลงได้
ถูกต้อง

101012.03 153294
101012

บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกได้ถูกต้องตามวิธีการบรรเลง

4. บรรเลงเพลงโหมโรง 1 เพลง หรือเพลงที่ใช้บรรเลงเป็น
ในเพลงแรก(เพลงโชว์วง) ด้วยเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือก
โดยใช้ความจำ

101012.04 153295
101012

บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกได้ถูกต้องตามวิธีการบรรเลง

5. บรรเลงเพลงเถา 1 เพลง หรือเพลงที่ใช้บรรเลงที่นิยมใช้
บรรเลงทั่วไปด้วยเครื่องดนตรีที่ตนเอง
เลือกโดยใช้ความจำ

101012.05 153296
101012

บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกได้ถูกต้องตามวิธีการบรรเลง

6. บรรเลงเพลงลา 1 เพลงหรือเพลงที่ใช้บรรเลงเป็นเพลง
สุดท้ายด้วยเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกโดยใช้ความจำ

101012.06 153297

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

- ทักษะการบรรเลงเพลงต่างๆตามเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัด 



 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

- ส่วนประกอบ วิธีการบรรเลง และวิธีการรักษาซ่อมบำรุงของเครื่องดนตรี


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

      - ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวขณะบรรเลงดนตรีของผู้ขอรับการประเมิน

 (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

      - 

 (ค) คำแนะนำในการประเมิน

     - ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ต้องเป็นภาพที่บันทึกไม่เกิน 5 ปี

 (ง) วิธีการประเมิน

       ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐาน ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวตรงกับหลักฐานที่ส่งให้

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ

        ผู้จะเข้ามาทดสอบจะต้องแสดงความรู้ในหลักพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัดและสามารถบรรเลงเพลงต่างๆได้ 

 (ข)    คำอธิบายรายละเอียด

        - ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี หมายถึง ชื้นส่วนหรือวัสดุ ที่ประกอบกันเป็นเครื่องดนตรี สามารถใช้บรรเลงได้ ได้แก่ ลูกบิด หย่อง แหน คันชัก ลิ้น นม ขา โต๊ะ สาย ไม้ดีด ไม้ตี หางม้า ราง ผืน ลูกมะหวด เป็นต้น 

ระดับเสียง หมายถึง เสียงที่เกิดขึ้นจากการเทียบเสียงเครื่องดนตรี ที่อยู่ระดับเสียงที่ถูกต้องของเครื่องดนตรีนั้น ๆ 

ท่านั่ง ท่าจับ หมายถึง ลักษณะของการทรงตัวของกายภาพผู้ประเมิน ที่ถูกต้องเหมาะสมกับการบรรเลงเครื่องดนตรีนั้นๆ  

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 วิธีการประเมิน

        - สัมภาษณ์

        - สาธิต



18.2 เครื่องมือ

        - แบบสัมภาษณ์

        - แบบประเมินผล

 



ยินดีต้อนรับ