หน่วยสมรรถนะ
ตรวจสอบผลการตรวจวัดคุณภาพฝุ่นละอองและวิเคราะห์ความผิดปกติของการเผาไหม้เบื้องต้น
สาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | GPW-OTHF-655A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ตรวจสอบผลการตรวจวัดคุณภาพฝุ่นละอองและวิเคราะห์ความผิดปกติของการเผาไหม้เบื้องต้น |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพผู้ปฏิบัติงานระบบผลิตไฟฟ้าโรงไฟฟ้าขยะ ระดับ 4 |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ และวิเคราะห์ความผิดปกติ ปัญหาที่เกิดจากการเผาไหม้เบื้องต้น รวมถึงตรวจสอบและตรวจวัดระบบการกำจัดฝุ่นและมลพิษทางอากาศ รวมถึงการบันทึกข้อมูลการตรวจสอบ และวิเคราะห์ผลการตรวจสอบเครื่องจักร |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
N/A |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 25542. พระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 25353. กฎกระทรวง เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 25644. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดให้เตาเผา มูลฝอยเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ พ.ศ. 25535. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐาน ควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย พ.ศ. 2553 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
WPG-OP-4-02-01 ตรวจสอบผลการตรวจวัดคุณภาพฝุ่นละอองในระบบดักจับฝุ่น |
1. อธิบายกระบวนการทำงานของระบบดักจับฝุ่น |
WPG-OP-4-02-01WPG-OP-4-02-01.01 | 206156 |
WPG-OP-4-02-01 ตรวจสอบผลการตรวจวัดคุณภาพฝุ่นละอองในระบบดักจับฝุ่น |
2. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงานกับเครื่องจักร |
WPG-OP-4-02-01WPG-OP-4-02-01.02 | 206157 |
WPG-OP-4-02-01 ตรวจสอบผลการตรวจวัดคุณภาพฝุ่นละอองในระบบดักจับฝุ่น |
3. ตรวจสอบการทำงานของระบบดักจับฝุ่น |
WPG-OP-4-02-01WPG-OP-4-02-01.03 | 206158 |
WPG-OP-4-02-01 ตรวจสอบผลการตรวจวัดคุณภาพฝุ่นละอองในระบบดักจับฝุ่น |
4. แก้ไขปัญหาการทำงานของระบบดักจับฝุ่นเบื้องต้น |
WPG-OP-4-02-01WPG-OP-4-02-01.04 | 206159 |
WPG-OP-4-02-01 ตรวจสอบผลการตรวจวัดคุณภาพฝุ่นละอองในระบบดักจับฝุ่น |
5. ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดการระบบดักจับฝุ่น |
WPG-OP-4-02-01WPG-OP-4-02-01.05 | 206160 |
WPG-OP-4-02-02 ตรวจสอบผลการตรวจวัดมลพิษที่ออกจากระบบดักจับฝุ่นและมลพิษ |
1. อธิบายกระบวนการทำงานของระบบตรวจวัดมลพิษ |
WPG-OP-4-02-02.01 | 206170 |
WPG-OP-4-02-02 ตรวจสอบผลการตรวจวัดมลพิษที่ออกจากระบบดักจับฝุ่นและมลพิษ |
2. อธิบายวิธีการตรวจวัดองค์ประกอบหลังจากการเผาไหม้ |
WPG-OP-4-02-02.02 | 206171 |
WPG-OP-4-02-02 ตรวจสอบผลการตรวจวัดมลพิษที่ออกจากระบบดักจับฝุ่นและมลพิษ |
3. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงานกับเครื่องจักร |
WPG-OP-4-02-02.03 | 206172 |
WPG-OP-4-02-02 ตรวจสอบผลการตรวจวัดมลพิษที่ออกจากระบบดักจับฝุ่นและมลพิษ |
4. ตรวจสอบการทำงานของระบบตรวจวัดมลพิษ |
WPG-OP-4-02-02.04 | 206173 |
WPG-OP-4-02-02 ตรวจสอบผลการตรวจวัดมลพิษที่ออกจากระบบดักจับฝุ่นและมลพิษ |
5. แก้ไขปัญหาการทำงานของระบบตรวจวัดมลพิษเบื้องต้น |
WPG-OP-4-02-02.05 | 206174 |
WPG-OP-4-02-02 ตรวจสอบผลการตรวจวัดมลพิษที่ออกจากระบบดักจับฝุ่นและมลพิษ |
6. ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดการระบบตรวจวัดมลพิษ |
WPG-OP-4-02-02.06 | 206175 |
WPG-OP-4-02-03 ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ และสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้น |
1. อธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือวัดในระบบการเผาไหม้ |
WPG-OP-4-02-03.01 | 206180 |
WPG-OP-4-02-03 ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ และสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้น |
2. อธิบายกระบวนการเผาไหม้ในระบบผลิตความร้อน |
WPG-OP-4-02-03.02 | 206181 |
WPG-OP-4-02-03 ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ และสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้น |
3. อธิบายวิธีการตรวจวัดองค์ประกอบหลังการเผาไหม้ |
WPG-OP-4-02-03.03 | 206182 |
WPG-OP-4-02-03 ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ และสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้น |
4. ใช้เครื่องมือวัดในระบบการเผาไหม้ได้ตามคู่มือ |
WPG-OP-4-02-03.04 | 206183 |
WPG-OP-4-02-04 วิเคราะห์ความผิดปกติของการเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ รายงาน และเสนอแนวทางแก้ไขเบื้องต้น |
1. บันทึกผลการตรวจวัดและผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการเผาไหม้ |
WPG-OP-4-02-04.01 | 206184 |
WPG-OP-4-02-04 วิเคราะห์ความผิดปกติของการเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ รายงาน และเสนอแนวทางแก้ไขเบื้องต้น |
2. ตรวจสอบสภาพความผิดปกติของการเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ |
WPG-OP-4-02-04.02 | 206185 |
WPG-OP-4-02-04 วิเคราะห์ความผิดปกติของการเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ รายงาน และเสนอแนวทางแก้ไขเบื้องต้น |
3. วิเคราะห์ความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นจากการเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ |
WPG-OP-4-02-04.03 | 206186 |
WPG-OP-4-02-04 วิเคราะห์ความผิดปกติของการเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ รายงาน และเสนอแนวทางแก้ไขเบื้องต้น |
4. บันทึกปัญหาจากการเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ |
WPG-OP-4-02-04.04 | 206187 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะในการตรวจสอบลักษณะการเผาไหม้จากเชื้อเพลิงขยะ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้ด้านหลักการทำงานของกระบวนการเผาไหม้จากเชื้อเพลิงขยะ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ถ้ามี) 1. หลักฐานคุณวุฒิการศึกษา 1. ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก และข้อสอบอัตนัย |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คําแนะนํา ผู้ปฏิบัติงานระบบผลิตไฟฟ้าโรงไฟฟ้าขยะ จะต้องมีความสามารถในการตรวจสอบและวิเคราะห์สภาพการเผาไหม้ได้อย่างถูกต้อง เพื่อควบคุมและป้องกันมลพิษไม่ให้เกินค่ามาตรฐานที่กำหนด (ข) คําอธิบายรายละเอียด 1. ค่ามาตรฐานที่กำหนด หมายถึง ค่ามาตฐานด้านมลพิษทางอากาศที่กำหนดและควบคุม โดยหน่วยงานกำกับดูแลเรื่องการปล่อยมลพิษ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมิน ตรวจสอบผลการตรวจวัดคุณภาพฝุ่นละอองในระบบดักจับฝุ่น 1. ข้อสอบปรนัย เช่น อธิบายกระบวนการทำงานของระบบดักจับฝุ่น สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงานกับเครื่องจักร ตรวจสอบการทำงานของระบบดักจับฝุ่น แก้ไขปัญหาการทำงานของระบบดักจับฝุ่นเบื้องต้น ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดการระบบดักจับฝุ่น 1. ข้อสอบปรนัย เช่น อธิบายกระบวนการทำงานของระบบตรวจวัดมลพิษ อธิบายวิธีการตรวจวัดองค์ประกอบหลังจากการเผาไหม้ สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงานกับเครื่องจักร ตรวจสอบการทำงานของระบบตรวจวัดมลพิษ แก้ไขปัญหาการทำงานของระบบตรวจวัดมลพิษเบื้องต้น ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดการระบบตรวจวัดมลพิษ |