หน่วยสมรรถนะ
ตรวจสอบและวิเคราะห์ความผิดปกติของระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ
สาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | GPW-VHWA-654A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ตรวจสอบและวิเคราะห์ความผิดปกติของระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพผู้ปฏิบัติงานระบบผลิตไฟฟ้าโรงไฟฟ้าขยะ ระดับ 4 |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถตรวจสอบ และวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ รวมถึงการแก้ไขปัญหาการทำงานของเครื่องจักรที่เกิดขึ้นได้ บันทึกข้อมูลการตรวจสอบ และวิเคราะห์ผลการตรวจสอบ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
N/A |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 25542. กฎกระทรวง เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 25553. กฎกระทรวง เรื่อง กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
WPG-OP-4-01-01 ตรวจสอบผลการทำงานและสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
1. อธิบายกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะก่อนเข้าสู่เตาเผา |
WPG-OP-4-01-01.01 | 206136 |
WPG-OP-4-01-01 ตรวจสอบผลการทำงานและสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
2. อธิบายรายละเอียดของเครื่องจักรในการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
WPG-OP-4-01-01.02 | 206137 |
WPG-OP-4-01-01 ตรวจสอบผลการทำงานและสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
3. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงานกับเครื่องจักร |
WPG-OP-4-01-01.03 | 206138 |
WPG-OP-4-01-01 ตรวจสอบผลการทำงานและสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
4. ตรวจสอบความผิดปกติของการทำงานของเครื่องจักรลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
WPG-OP-4-01-01.04 | 206139 |
WPG-OP-4-01-01 ตรวจสอบผลการทำงานและสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
5. แก้ไขปัญหาการทำงานของเครื่องจักรลำเลียงเชื้อเพลิงขยะเบื้องต้น |
WPG-OP-4-01-01.05 | 206140 |
WPG-OP-4-01-01 ตรวจสอบผลการทำงานและสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
6. ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะเข้าสู่กระบวนการผลิตความร้อน |
WPG-OP-4-01-01.06 | 206141 |
WPG-OP-4-01-02 วิเคราะห์ความผิดปกติ รายงาน และเสนอแนวทางแก้ไขเบื้องต้นของกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
1. ตรวจสอบสภาพความผิดปกติของเครื่องจักรในกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
WPG-OP-4-01-02.01 | 206147 |
WPG-OP-4-01-02 วิเคราะห์ความผิดปกติ รายงาน และเสนอแนวทางแก้ไขเบื้องต้นของกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
2. วิเคราะห์ความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นของเครื่องจักรในกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
WPG-OP-4-01-02.02 | 206148 |
WPG-OP-4-01-02 วิเคราะห์ความผิดปกติ รายงาน และเสนอแนวทางแก้ไขเบื้องต้นของกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
3. บันทึกปัญหาจากการทำงานของเครื่องจักรในระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
WPG-OP-4-01-02.03 | 206149 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะในการควบคุมเครื่องจักรระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้ด้านหลักการทำงานเครื่องจักรระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ถ้ามี) 1. หลักฐานคุณวุฒิการศึกษา 1. ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก และข้อสอบอัตนัย |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คําแนะนํา ผู้ดำเนินงานด้านการควบคุมการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ จะต้องมีความสามารถในการดูแลเครื่องจักรและระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ และประสานงานกับหน่วยจัดเตรียมเชื้อเพลิงขยะเพื่อตรวจสอบตัวอย่างมาวิเคราะห์ได้ถูกต้อง (ข) คําอธิบายรายละเอียด ผู้ดำเนินงานด้านการดูแลและตรวจสอบเบื้องต้นของระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ มีหน้าที่รวบรวมปัญหาและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเพื่อจัดทำแผนป้องกันในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 1. การลำเลียงวัตถุดิบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน - ส่วนที่ 2 การป้อนเชื้อเพลิงเข้าสู่เตาเผา 2. เครื่องจักรลำเลียงวัตถุดิบ หมายถึง เครื่องจักรที่ใช้ลำเลียงวัตถุดิบเข้าสู่ห้องเผาไหม้ ประกอบด้วย เครื่องจักรและอุปกรณ์ เช่น สายพานลำเลียง (Belt Conveyor) เกลียวลำเลียง (Screw Conveyor) เป็นต้น |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมิน ตรวจสอบผลการทำงานและสามารถระบุความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นใน ระบบการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ 1. ข้อสอบปรนัย เช่น อธิบายกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะก่อนเข้าสู่เตาเผา อธิบายรายละเอียดของเครื่องจักรในการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงานกับเครื่องจักร ตรวจสอบความผิดปกติของการทำงานของเครื่องจักรลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ แก้ไขปัญหาการทำงานของเครื่องจักรลำเลียงเชื้อเพลิงขยะเบื้องต้น ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะเข้าสู่กระบวนการผลิตความร้อน 1. ข้อสอบปรนัย เช่น ตรวจสอบสภาพความผิดปกติของเครื่องจักรในกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ วิเคราะห์ความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นของเครื่องจักรในกระบวนการลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ บันทึกปัญหาจากการทำงานของเครื่องจักรในระบบลำเลียงเชื้อเพลิงขยะ |