หน่วยสมรรถนะ
ดูแลและตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้
สาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | GPW-WFZP-650A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ดูแลและตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพผู้ปฏิบัติงานระบบผลิตไฟฟ้าโรงไฟฟ้าขยะ ระดับ 3 |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดูแล และตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ให้อยู่ในสภาวะปกติและมีความปลอดภัยในการทำงาน รวมถึงการบันทึกข้อมูลการทำงานของห้องเผาไหม้ ในสภาวะต่าง ๆ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
N/A |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 25542. กฎกระทรวง เรื่อง กําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 25643. กฎกระทรวง เรื่อง กําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
WPG-OP-3-04-01 ดูแลการทำงานของเครื่องจักรของห้องเผาไหม้ให้อยู่ในสภาวะปกติ |
1. อธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือวัดและการตรวจวัดในระบบการเผาไหม้ |
WPG-OP-3-04-01.01 | 205921 |
WPG-OP-3-04-01 ดูแลการทำงานของเครื่องจักรของห้องเผาไหม้ให้อยู่ในสภาวะปกติ |
2. อธิบายกระบวนการเผาไหม้ในระบบผลิตความร้อน |
WPG-OP-3-04-01.02 | 205922 |
WPG-OP-3-04-01 ดูแลการทำงานของเครื่องจักรของห้องเผาไหม้ให้อยู่ในสภาวะปกติ |
3. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงานกับเครื่องจักร |
WPG-OP-3-04-01.03 | 205923 |
WPG-OP-3-04-01 ดูแลการทำงานของเครื่องจักรของห้องเผาไหม้ให้อยู่ในสภาวะปกติ |
4. ดูแลการทำงานของเครื่องจักรของห้องเผาไหม้ |
WPG-OP-3-04-01.04 | 205924 |
WPG-OP-3-04-02 ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้และควบคุมการเผาไหม้ให้สมบูรณ์ |
1. อธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตความร้อน |
WPG-OP-3-04-02.01 | 205925 |
WPG-OP-3-04-02 ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้และควบคุมการเผาไหม้ให้สมบูรณ์ |
2. อธิบายวิธีการควบคุมการเผาไหม้เชื้อเพลิง |
WPG-OP-3-04-02.02 | 205926 |
WPG-OP-3-04-02 ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้และควบคุมการเผาไหม้ให้สมบูรณ์ |
3. ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ เพื่อควบคุมคุณภาพการเผาไหม้ |
WPG-OP-3-04-02.03 | 205927 |
WPG-OP-3-04-03 ดูแลการทำงานของระบบลำเลียงเถ้าให้อยู่ในสภาวะปกติ |
1. อธิบายกระบวนการทำงานของระบบลำเลียงเถ้า |
WPG-OP-3-04-03.01 | 205928 |
WPG-OP-3-04-03 ดูแลการทำงานของระบบลำเลียงเถ้าให้อยู่ในสภาวะปกติ |
2. อธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของเถ้า |
WPG-OP-3-04-03.02 | 205929 |
WPG-OP-3-04-03 ดูแลการทำงานของระบบลำเลียงเถ้าให้อยู่ในสภาวะปกติ |
3. อ่าน/ใช้คู่มือการปฏิบัติงานระบบลำเลียงเถ้า |
WPG-OP-3-04-03.03 | 205930 |
WPG-OP-3-04-03 ดูแลการทำงานของระบบลำเลียงเถ้าให้อยู่ในสภาวะปกติ |
4. ดูแลการทำงานของระบบลำเลียงเถ้าให้มีประสิทธิภาพ |
WPG-OP-3-04-03.04 | 205931 |
WPG-OP-3-04-03 ดูแลการทำงานของระบบลำเลียงเถ้าให้อยู่ในสภาวะปกติ |
5. ตรวจสอบระบบลำเลียงเถ้าและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน |
WPG-OP-3-04-03.05 | 205932 |
WPG-OP-3-04-04 บันทึกผลการตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ |
1. รวบรวมข้อมูลผลการตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ |
WPG-OP-3-04-04.01 | 205933 |
WPG-OP-3-04-04 บันทึกผลการตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ |
2. สรุปผลการดำเนินงานของห้องเผาไหม้ |
WPG-OP-3-04-04.02 | 205934 |
WPG-OP-3-04-04 บันทึกผลการตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ |
3. บันทึกและรายงานผลการตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ |
WPG-OP-3-04-04.03 | 205935 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. ทั กษะในการดูแลระบบเผาไหม้จากเชื้อเพลิงขยะ 2. ทักษะในการปฏิบัติงานกับเครื่องจักรในกระบวนการเผาไหม้ 3. ทักษะในการใช้เครื่องมือวัดเพื่อประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้ 4. ทักษะในการอ่านและการใช้ภา ษาเชิงวิท ยาศาสตร์หรือเชิงเทคนิค
(ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้ทางทฤษฎีของกระบวนการเผาไหม้เบื้องต้น 2. ความรู้ในการปฏิบัติงานกับเครื่องจักรในกระบวนการเผาไหม้ 3. ความรู้เกี่ยวกับการจัดการด้านการขนส่งเถ้า การทำงานของระบบลำเลียงเถ้า 4. ความรู้ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 5. ความรู้ในการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลให้เหมาะสมกับการทำงาน |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. หลักฐาน/หนังสือรับรองการทำงาน หรือการผ่านงาน 1. หลักฐานคุณวุฒิการศึกษา 1. หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงหน่วยสมรรถนะนี้ ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของหน่วยสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยหลักฐานในที่นี้ ต้องแสดงถึง - วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน และกฎหมายหรือเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง - ขอบเขตด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ง) วิธีการประเมิน 1. ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก และข้อสอบอัตนัย |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ ผู้ดำเนินงานด้านการดูแลการทำงานระบบห้องเผาไหม้ สามารถตรวจวัดและวิเคราะห์ประสิทธิภาพ และปรับแต่งการเผาไหม้ให้สมบรูณ์อยู่เสมอ รวมถึงรวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน ปัญหา และปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เพื่อรายงานต่อหน่วยงานตามแผน (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับห้องเผาไหม้ ได้แก่ เตาเผา พัดลมป้อนอากาศเผาไหม้ (Combustion Air Fan) พัดลมดูดอากาศเสีย (Exhaust Fan) และอื่น ๆ - เครื่องวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส และแบบจุ่ม - เครื่องมือวัดอุณหภูมิแบบใช้รังสี (Radiation thermometer) - เครื่องมือวัดความร้อนสูญเสีย (Heat flow meter) - เครื่องมือตรวจสอบคุณภาพน้ำ - มิเตอร์วัดน้ำมันเชื้อเพลิง ตอนช่วงเริ่มเดินเครื่องผลิตความร้อน 3. การตรวจสอบระบบเผาไหม้ หมายถึง การตรวจวัดองค์ประกอบของเชื้อเพลิง ไอเสียและผลิตภัณฑ์ที่เหลือจากการเผาไหม้ เพื่อนำไปวิเคราะห์และปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม้ - ระบบลำเลียงเถ้า เป็นกระบวนการรวบรวม ขนถ่าย จัดเก็บ และการลำเลียงเถ้าลอย ระบบลำเลียงเถ้าที่ออกจากระบบ 5. การบันทึกข้อมูล ได้แก่ - บันทึกอุณหภูมิของปล่องไอเสีย - บันทึกอุณหภูมิและความดันของน้ำมันเชื้อเพลิง ตอนช่วงเริ่มเดินเครื่องผลิตความร้อน - บันทึกความดันของหัวพ่นละอองน้ำมัน (Oil atomizer) ตอนช่วงเริ่มเดินเครื่องผลิตความร้อน |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมิน ดูแลการทำงานของเครื่องจักรของห้องเผาไหม้ให้อยู่ในสภาวะปกติ 1. ข้อสอบปรนัย เช่น อธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือวัดและการตรวจวัดในระบบการเผาไหม้ อธิบายกระบวนการเผาไหม้ในระบบผลิตความร้อน สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงานกับเครื่องจักร ดูแลการทำงานของเครื่องจักรของห้องเผาไหม้ 18.2 เครื่องมือประเมิน ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้และควบคุมการเผาไหม้ให้สมบูรณ์ 1. ข้อสอบปรนัย เช่น อธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตความร้อน อธิบายวิธีการควบคุมการเผาไหม้เชื้อเพลิง ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้เพื่อควบคุมคุณภาพการเผาไหม้ 2. ข้อสอบสัมภาษณ์ เช่น ตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้เพื่อควบคุมคุณภาพการเผาไหม้ 18.3 เครื่องมือประเมิน ดูแลการทำงานของระบบลำเลียงเถ้าให้อยู่ในสภาวะปกติ 1. ข้อสอบปรนัย เช่น อธิบายกระบวนการทำงานของระบบลำเลียงเถ้า อธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของเถ้า อ่าน/ใช้คู่มือการปฏิบัติงานระบบลำเลียงเถ้า ดูแลการทำงานของระบบลำเลียงเถ้าให้มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบระบบลำเลียงเถ้าและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน 2. ข้อสอบอัตนัย เช่น อธิบายกระบวนการทำงานของระบบลำเลียงเถ้า 18.4 เครื่องมือประเมิน บันทึกผลการตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ 1. ข้อสอบปรนัย เช่น รวบรวมข้อมูลผลการตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ สรุปผลการดำเนินงานของห้องเผาไหม้ บันทึกและรายงานผลการตรวจสอบการทำงานของห้องเผาไหม้ |