หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

กำหนดวิธีการ เนื้อหา ขั้นตอนในการแบ่งกลุ่มลูกค้าเพื่อค้นหาศักยภาพ ความชำนาญเฉพาะด้านของแต่ละบุคคล

สาขาวิชาชีพธุรกิจค้าปลีก


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RTS-MWIX-265A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ กำหนดวิธีการ เนื้อหา ขั้นตอนในการแบ่งกลุ่มลูกค้าเพื่อค้นหาศักยภาพ ความชำนาญเฉพาะด้านของแต่ละบุคคล

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

-



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
เป็นผู้มีความสามารถ แบ่งกลุ่มลูกค้าเพื่อค้นหาศักยภาพ ความชำนาญเฉพาะตนในการค้นหาความถนัดจากการแบ่งลูกค้าตามดังต่อไปนี้ได้ สามารถแยกแยะสมรรถนะของบุคคลได้ 1. ผู้บริโภค2. นักขาย3. นักสร้างองค์กร4. ที่ปรึกษาองค์กร5. ผู้นำองค์กร     จัดให้มีการจัดให้มีการทดสอบและทำการประเมินความถนัด ตามเนื้อหาหลักสูตร 

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้จำหน่ายอิสระ 

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
-

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
เช่น พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง (ฉบับที่ 3)พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.2545 มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๖ เป็นมาตราที่กำหนดให้เป็นหน้าที่โดยตรงของนักขาย ผู้จำหน่ายอิสระ ที่ว่าด้วยเรื่องการนำเสนอการขายให้กับลูกค้าตามเงื่อนไขและแผนการขายที่ผู้ประกอบการขายตรงได้กำหนดไว้พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์และอุตสาหกรรม พ.ศ.2511 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535พระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.2499พระราชกำหนดการผู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน มาตรา  341 มาตรา 342 มาตรา 343  มาตรา 344  พระราชบัญญัติความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551พระราชบัญญัติเครื่องสำอางค์ พ.ศ. 2558  พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2557 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2558 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา 

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
201211

ค้นหาความถนัดจากการแบ่งลูกค้าตามลักษณะของผู้มุ่งหวัง

1. ค้นหาลักษณะและความถนัดของผู้มุ่งหวังที่เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ เช่น การเป็นผู้บริโภค นักขาย การสร้างองค์กร ที่ปรึกษา หรือผู้นำองค์กร 

201211.01 204204
201211

ค้นหาความถนัดจากการแบ่งลูกค้าตามลักษณะของผู้มุ่งหวัง

2. พิจารณาความพนักของผู้มุ่งหวังที่เหมาะสมกับตัวตนของเขาการเป็นผู้บริโภค นักขาย การสร้างองค์กร ที่ปรึกษา หรือผู้นำองค์กร 

201211.02 204205
201212

จัดให้มีการทดสอบและทำการประเมินความถนัด ตามเนื้อหาหลักสูตร

1. เตรียมทดสอบความรู้ แบบปรนัย 4 ตัวเลือกและประเมินความถนัดตามเนื้อหาหลักสูตรการอบรม 

201212.01 204206
201212

จัดให้มีการทดสอบและทำการประเมินความถนัด ตามเนื้อหาหลักสูตร

2. จัดการทดสอบประเมินความถนัดตามความรู้ที่ได้ศึกษาตามหลักสูตร 

201212.02 204207

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. ความรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดของกฎหมายของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง การจดทะเบียน การขออนุญาต จาก สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 

2. ความรู้เกี่ยวกับหลักจรรยาบรรณของธุรกิจขายตรง 

 


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ทักษะการพิจารณาและวิเคราะห์บุคคลที่เหมาะสมกับงานที่เขาควรปฎิบัติ 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายสินค้าระบบขายตรง ความรู้ที่ผู้จำหน่ายตรงจะต้องรู้  

ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพฤติกรรมของบุคคล ความเหมาะสมในการทำหน้าที่ต่าง ๆ 

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

        เอกสารแสดงการเป็นสมาชิกธุรกิจขายตรง  

        หลักฐานการเข้ารับการอบรมโดยวิทยากรขายตรง   

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

    ประกาศนียบัตรที่แสดงถึงการมีการอบรมความรู้เกี่ยวกับสินค้า 

    ประกาศนียบัตรที่แสดงถึงการมีการอบรมความรู้ด้านกฎหมายของภาครัฐ 

    ประกาศนียบัตรที่แสดงถึงการมีการอบรมความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร  

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

        N/A

    วิธีการประเมิน

   1. ทดสอบความรู้ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก

   2. การสัมภาษณ์

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ก.คำแนะนำ 

    N/A

ข. คำอธิบายรายละเอียด

    ค้นหา ความถนัดจากการแบ่งลูกค้าตามดังต่อไปนี้ ผู้บริโภค นักขาย นักสร้างองค์กร ที่ปรึกษาองค์กร ผู้นำองค์กร เพื่อให้เหมาะสมและตรงกับลักษณะของผู้มุ่งหวัง


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
-

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
-

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. ทดสอบความรู้ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก

2. การสัมภาษณ์

รายละเอียดดูได้จากคู่มือประเมิน    

 



ยินดีต้อนรับ