หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

สาขาวิชาชีพอนุรักษ์งานศิลปหัตถกรรมและงานพื้นบ้าน


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CRA-HQWJ-384B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO – 08 รหัสอาชีพ 7313 ช่างทำเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และโลหะมีค่า



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้ประกอบไปด้วยความรู้และทักษะในการจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม โดยสามารถวางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และถ่ายทอดการปฏิบัติในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม และบริหารบุคลากรในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม และบริหารการเงินและบัญชี และบริหารทรัพยากรที่เป็นวัตถุดิบผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม และกำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา และประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงานได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพอนุรักษ์งานศิลปหัตถกรรมและงานพื้นบ้าน

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
-

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
-

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
05021

วางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

1. วิเคราะห์ระบบงาน และข้อมูลของสินค้าที่ต้องการผลิตได้อย่างถูกต้อง

05021.01 200413
05021

วางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

2. นำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์สภาพปัญหามาวางแผน และกำหนดแนวทางการปรับปรุงการผลิตได้อย่างถูกต้อง

05021.02 200414
05021

วางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

3. มีการวางแผนแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างเหมาะสม

05021.03 200415
05021

วางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

4. มีการควบคุมแผนงานเพื่อผลิตสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ

05021.04 200416
05022

ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

1. มีความสามารถในประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

05022.01 200417
05022

ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2. จัดทำข้อมูล และรายงานผลการประสานงานกับหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน

05022.02 200418
05023

ถ่ายทอดการปฏิบัติในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

1. เข้าใจวัตถุประสงค์ในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมที่ชัดเจน 

05023.01 200419
05023

ถ่ายทอดการปฏิบัติในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

2. สามารถถ่ายทอดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และอธิบายงานของตนเองได้ 

05023.02 200420
05023

ถ่ายทอดการปฏิบัติในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

3. ดำเนินการสอนงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ 

05023.03 200421
05023

ถ่ายทอดการปฏิบัติในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

4. สามารถตอบคำถามและอธิบายงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมในเชิงลึก

05023.04 200422
05024

บริหารบุคลากรในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

1. มีการวางแผนบริหารบุคลากรในธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมอย่างเป็นระบบ

05024.01 200423
05024

บริหารบุคลากรในงานด้านการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

2. มีการวางแผนพัฒนาบุคลากรในธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง

05024.02 200424
05025

บริหารการเงินและบัญชี

1. มีการวางแผนการควบคุมการใช้จ่ายได้อย่างถูกต้อง 

05025.01 200425
05025

บริหารการเงินและบัญชี

2.มีการบริหารเงินสำรองเพื่อการลงทุนหมุนเวียนในการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

05025.02 200426
05025

บริหารการเงินและบัญชี

3. มีการบันทึกบัญชี และการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง 

05025.03 200427
05025

บริหารการเงินและบัญชี

4. จัดทำรายงานการบริหารการเงินและบัญชีอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

05025.04 200428
05026

บริหารทรัพยากรที่เป็นวัตถุดิบผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

1. สำรวจ และเข้าใจระบบนิเวศแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

05026.01 200429
05026

บริหารทรัพยากรที่เป็นวัตถุดิบผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

2. บริหาร และอนุรักษ์แหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 

05026.02 200430
05027

กำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา

1. ตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

05027.01 200431
05027

กำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา

2. มีการกำหนดแนวทางในการแก้ไขและป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

05027.02 200432
05028

ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

1. กำหนดเครื่องมือการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง และเที่ยงตรง

05028.01 200433
05028

ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

2. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามเกณฑ์อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได้

05028.02 200434
05028

ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

3. มีการนำผลการประเมินการปฏิบัติงานไปใช้ในการควบคุมการจัดการธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

05028.03 200435

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติการวางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

2. ปฏิบัติการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3. ปฏิบัติการสอนงานปฏิบัติในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

4. ปฏิบัติการบริหารบุคลากรในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

5. ปฏิบัติการบริหารการเงินและบัญชี

6. ปฏิบัติการบริหารทรัพยากรในหน่วยงาน

7. ปฏิบัติการกำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา

8. ปฏิบัติการประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. เทคนิคการประสานงาน

2. เทคโนโลยีในการสื่อสาร

3. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการบริหารงาน

4. การบริหารความขัดแย้ง

5. การวิเคราะห์งาน

6. การกำหนดวัตถุประสงค์การสอน

7. เทคนิคการสอนงาน

8. จิตวิทยาการสอน

9. เทคนิคการใช้สื่อประกอบการสอน

10. การประเมินการเรียนรู้

11. การวางแผนการสอนงาน

12. การติดตามผลการสอนงาน

13. การบริหารการเงิน

14. เทคนิคการจัดบัญชีเพื่อการจัดการ

15. หลักการจัดทำงบประมาณ

16. การเขียนรายงาน

17. หลักการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน

18. การตรวจสอบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน

19. การประเมินระดับความรุนแรงของปัญหา

20. การบริหารความเสี่ยง

21. วิธีการแก้ไขปัญหา

22. วิธีการป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

23. การจัดการทรัพยากรมนุษย์

24. การกำหนดสมรรถนะในการปฏิบัติงาน

25. เทคนิคการให้คำปรึกษา

26. การจัดทำดัชนีชี้วัดในการปฏิบัติงาน

27. การจัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล(IDP)

28. การประเมินผลการปฏิบัติงาน

29. การประเมินการปฏิบัติงาน

30. การบริหารองค์กร

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1. แฟ้มสะสมผลงาน และ/หรือ 

2. เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. ใบผ่านการอบรมเกี่ยวกับการจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม และ/หรือ  

2. เอกสารการนำเสนองานหรือการบรรยายที่เกี่ยวข้องกับจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม และ/หรือ  

3. เอกสารรับรองและผลการประเมินจากบุคลากร สถานประกอบการ หรือผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพ

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

ประเมินเกี่ยวกับการจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

(ง) วิธีการประเมิน

1. พิจารณาหลักฐานความรู้

2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

(ก) คำแนะนำ 

1. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องวางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

2. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องสอนงานปฏิบัติงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

4. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องบริหารบุคลากรในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

5. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องบริหารการเงินและบัญชี

6. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องบริหารทรัพยากรในหน่วยงาน

7. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องกำหนดแนวทางการแก้ไขและการป้องกันปัญหา

8. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

1. การวางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมโดยวางแผนเกี่ยวกับกำลังคนการผลิต ความต้องการวัสดุที่ใช้ในการผลิต  และความต้องการกำลังการผลิต 

2. ประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอก ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ

3. สอนงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชา เกี่ยวกับงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. บริหารบุคลากรในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5. บริหารการเงินและบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการจำหน่ายสินค้าในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างถูกต้อง

6. บริหารทรัพยากรในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7. กำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหาในการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

8. ประเมินผลและการควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เที่ยงตรง และมีประสิทธิภาพ

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
-

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
-

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมินโดยประเมินด้วยการทดสอบความรู้และทักษะการปฏิบัติงาน



ยินดีต้อนรับ