หน่วยสมรรถนะ
วางแผนการตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อม
สาขาวิชาชีพสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | EVM-QPBB-225A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | วางแผนการตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อม |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ISCO 1349 -หัวหน้าแผนกติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถวางแผนการตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อม อันประกอบไปด้วยการกำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่าง วิธีเก็บตัวอย่างอากาศ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศ การออกแบบเอกสารบันทึก การรายงานข้อมูลการเก็บตัวอย่างและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ แนวทางการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการเก็บตัวอย่าง และประกันคุณภาพ (QA/QC) ของกระบวนการได้อย่างเหมาะสม |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มอาชีพการติดตามและประเมินผลสิ่งแวดล้อมด้านอากาศ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1) พระราชบัญญัติส่งเสริมวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2551 2) ข้อบังคับสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีว่าด้วยการประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุม สาขาการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านวิทยาศาสตร์และการควบคุมมลพิษ พ.ศ. 2557 3) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550) กำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป4) ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม กำหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2549 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
EM118.01 กำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม | 1. กำหนดพื้นที่
จุดเก็บเก็บตัวอย่างอากาศตามวัตถุประสงค์ของการตรวจวัด |
198911 | |
EM118.01 กำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม | 2.
ระบุข้อจำกัดในเชิงพื้นที่ที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการตรวจวัดและการเก็บตัวอย่างอากาศ |
198912 | |
EM118.01 กำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม | 3. ระบุความอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะเก็บตัวอย่างและกำหนดมาตรการป้องกันอันตราย |
198913 | |
EM118.01 กำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม | 4. กำหนดมาตรการด้านความปลอดภัยในการเข้าพื้นที่ศึกษา |
198914 | |
EM118.01 กำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม | 5.
จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน สำหรับกำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่าง |
198915 | |
EM118.02 กำหนดวิธีเก็บตัวอย่างอากาศ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศ | 1. กำหนดวิธีการตรวจวัดและเก็บตัวอย่างอากาศตามข้อกำหนด |
198916 | |
EM118.02 กำหนดวิธีเก็บตัวอย่างอากาศ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศ | 2. กำหนดตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศที่มีความสำคัญต่อพื้นที่หรือบริเวณใกล้เคียง |
198917 | |
EM118.02 กำหนดวิธีเก็บตัวอย่างอากาศ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศ | 3.
กำหนดการดูแลสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัยทั้งระหว่างและหลังจากสิ้นสุดการเก็บและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ |
198918 | |
EM118.02 กำหนดวิธีเก็บตัวอย่างอากาศ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศ | 4. กำหนดระบบการขนส่ง (logistics) ตัวอย่าง |
198919 | |
EM118.02 กำหนดวิธีเก็บตัวอย่างอากาศ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศ | 5.
จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน สำหรับกำหนดวิธีเก็บตัวอย่างและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศ วิธีการดูแลสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัยทั้งระหว่างและหลังสิ้นสุดการเก็บและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ |
198920 | |
EM118.03 ออกแบบเอกสารการบันทึก รายงานข้อมูลการเก็บตัวอย่างและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ | 1.
ออกแบบเอกสารบันทึกข้อมูลการเก็บตัวอย่าง สภาวะการเก็บตัวอย่าง
ข้อสังเกตที่อาจมีผลต่อตัวอย่าง |
198921 | |
EM118.03 ออกแบบเอกสารการบันทึก รายงานข้อมูลการเก็บตัวอย่างและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ | 2.
ออกแบบฉลากติดตัวอย่าง ที่สามารถทวนสอบถึงที่มาของตัวอย่าง |
198922 | |
EM118.03 ออกแบบเอกสารการบันทึก รายงานข้อมูลการเก็บตัวอย่างและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ | 3.
ออกแบบรายงานข้อมูลการเก็บตัวอย่างและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ |
198923 | |
EM118.04 กำหนดแนวทางการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการเก็บตัวอย่าง | 1.
บ่งชี้ปัญหาที่อาจพบในระหว่างการเก็บตัวอย่าง |
198924 | |
EM118.04 กำหนดแนวทางการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการเก็บตัวอย่าง | 2.
ระบุวิธีการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการเก็บตัวอย่าง |
198925 | |
EM118.05 ประกันคุณภาพ (QA/QC) ของกระบวนการ | 1.
กำหนดวิธีการประกันคุณภาพเพื่อเฝ้าระวังกระบวนการเก็บตัวอย่างและรวบรวมข้อมูลผลการวิเคราะห์ตัวอย่าง |
198926 | |
EM118.05 ประกันคุณภาพ (QA/QC) ของกระบวนการ | 2. จัดทำรายการตรวจติดตาม (checklist) สำหรับกระบวนการเก็บตัวอย่างและรวบรวมข้อมูล |
198927 | |
EM118.05 ประกันคุณภาพ (QA/QC) ของกระบวนการ | 3.
ตรวจติดตามกระบวนการเก็บตัวอย่างและรวบรวมข้อมูลตาม checklist |
198928 | |
EM118.05 ประกันคุณภาพ (QA/QC) ของกระบวนการ | 4.
สรุปผลการประกันคุณภาพและจัดทำรายงาน |
198929 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะทางเทคนิคในการปฏิบัติงาน สามารถระบุหลักการกำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่าง วิธีเก็บตัวอย่างอากาศ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพอากาศ การออกแบบเอกสารบันทึก การรายงานข้อมูลการเก็บตัวอย่างและตรวจวัดตัวอย่างอากาศ แนวทางการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการเก็บตัวอย่าง (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. หลักพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ทางอากาศ มลพิษทางอากาศ และการตรวจวัดมลพิษอากาศ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
การวางแผนการตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับคุณวุฒิที่ 5 เป็นการปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ในองค์รวมด้านวิทยาศาสตร์ทางอากาศ มลพิษทางอากาศ และการตรวจวัดมลพิษอากาศ เพื่อวางแผน บริหารจัดการการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน และถ่ายทอดความรู้ให้บุคลากรในระดับคุณวุฒิที่ 3 และ 4 ได้ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมินหน่วยสมรรถนะย่อย กำหนดพื้นที่ศึกษา จุดเก็บตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม |