หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง

สาขาวิชาชีพเกษตรกรรม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ARC-JXJH-988A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการสวนปาล์มน้ำมันอย่างยั่งยืน


1 6112 ผู้ปฏิบัติงานด้านการปลูกไม้ยืนต้นและไม้ผล

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง โดยผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมัน การตัดแต่งทางใบปาล์มน้ำมัน และการป้องกันกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง รวมทั้งการวางแผนปลูกทดแทนต้นปาล์มเก่า และมีทักษะได้แก่ สามารถใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมัน ดำเนินการตัดแต่งทางใบปาล์มน้ำมัน ป้องกันกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้อง และสามารถวางแผนปลูกทดแทนต้นปาล์มเก่าที่ไม่ให้ผลผลิตหรือให้ผลผลิตน้อยลงได้ 

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ อาชีพผู้ปฏิบัติงานด้านเพาะปลูกปาล์มน้ำมัน

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ISCO 6112 ผู้ปฏิบัติงานด้านการปลูกไม้ยืนต้นและไม้ผล

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
B241

ใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


1) อธิบายวิธีการเก็บตัวอย่างดินและใบปาล์มน้ำมันเพื่อวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชได้


B241.01 196922
B241

ใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


2) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บตัวอย่างดินและใบปาล์มน้ำมันเพื่อวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชได้


B241.02 196923
B241

ใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


3) ดำเนินการเก็บตัวอย่างดินและใบปาล์มน้ำมันเพื่อวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชได้อย่างถูกต้อง


B241.03 196924
B241

ใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


4) เตรียมและส่งตัวอย่างดินและใบปาล์มน้ำมันเพื่อตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชได้อย่างถูกต้อง


B241.04 196925
B241

ใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


5) ใช้ข้อมูลจากผลการวิเคราะห์ดินและใบปาล์มน้ำมันเพื่อบริหารจัดการการใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้อง


B241.05 196926
B241

ใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


6) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้อง


B241.06 196927
B241

ใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


7) ดำเนินการใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


B241.07 196928
B242

ตัดแต่งทางใบปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


1) อธิบายวิธีการตัดแต่งทางใบปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้


B242.01 196929
B242

ตัดแต่งทางใบปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


2) เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการตัดแต่งทางใบปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้อง


B242.02 196930
B242

ตัดแต่งทางใบปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


3) ดำเนินการตัดแต่งทางใบปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้อง


B242.03 196931
B243

ป้องกันและกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


1) อธิบายโรคปาล์มน้ำมันที่เกิดในสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้


B243.01 196932
B243

ป้องกันและกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


2) อธิบายชนิดของแมลงศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้


B243.02 196933
B243

ป้องกันและกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


3) อธิบายและจำแนกชนิดและลักษณะของหนูศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้


B243.03 196934
B243

ป้องกันและกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


4) อธิบายวิธีป้องกันกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้


B243.04 196935
B243

ป้องกันและกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


5) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้อง


B243.05 196936
B243

ป้องกันและกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


6) ดำเนินการป้องกันกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้อง


B243.06 196937
B244

วางแผนปลูกทดแทนต้นปาล์มน้ำมันเก่า


1) อธิบายรูปแบบการปลูกทดแทนต้นปาล์มน้ำมันเก่าได้


B244.01 196938
B244

วางแผนปลูกทดแทนต้นปาล์มน้ำมันเก่า


2) อธิบายวิธีการทำลายต้นปาล์มน้ำมันเก่าได้


B244.02 196939
B244

วางแผนปลูกทดแทนต้นปาล์มน้ำมันเก่า


3) กำหนดรูปแบบการปลูกทดแทนและวิธีการทำลายต้นปาล์มน้ำมันเก่าได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


B244.03 196940

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1) มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ ประเมิน และปฏิบัติจัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง

    2) มีทักษะในการสังเกต ตัดสินใจเลือก และดำเนินการปฏิบัติจัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง

    3) มีทักษะในการสื่อสาร สามารถอธิบายการจัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลงได้อย่างถูกต้อง

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

    1) มีความรู้ในกระบวนการในการจัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง

    2) มีความรู้ในการตัดสินใจเลือกเขตกรรมที่เหมาะสมในการจัดการสวนปาล์มน้ำมันในช่วงผลผลิตลดลง

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

    หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะ ความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

    (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

    1) หลักฐาน/หนังสือรับรองการทำงาน ใบผ่านงาน ที่ออกโดยหน่วยงานที่เชื่อถือได้

    2) เอกสารการผ่านการอบรม

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

    1) หนังสือรับรองคุณวุฒิทางการศึกษา

    2) หลักฐานการผ่านการอบรม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการ

    3) ผลการสอบข้อเขียน

    4) หลักฐานวุฒิการศึกษา

    5) ผลการทดสอบสัมภาษณ์/ปฏิบัติ

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน

    1) การประเมินเป็นการใช้แบบสอบข้อเขียน และการสัมภาษณ์เชิงเทคนิคหรือประเมินจากการปฏิบัติงานจริงประกอบกัน โดยต้องผ่านในทุกวิธีการประเมิน

   2) ผู้เข้ารับการประเมินแสดงความจำนงในการขอรับการประเมินคุณวุฒิวิชาชีพในสาขาอาชีพและระดับชั้น ที่ประสงค์จะขอรับการประเมิน

   3) ผู้รับการประเมินจะต้องกรอกแบบยื่นคำขอรับการทดสอบสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ระบุข้อมูลประวัติของผู้รับการประเมิน และยื่นเอกสารประกอบการยื่นขอรับการทดสอบสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพผ่านช่องทางที่กำหนด

(ง) วิธีการประเมิน

    1) พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน จากการสัมภาษณ์เชิงเทคนิคหรือประเมินการจากการปฏิบัติจริง

    2) พิจารณาหลักฐานความรู้ การสอบข้อเขียน หรือหนังสือรับรองการทำงาน ใบผ่านงาน ใบผ่านการอบรม

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขต (Range Statement) อธิบายถึงการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ ระบุองค์ประกอบในการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการทั่วไปให้มีความเหมาะสม โดยต้องดำเนินงานเป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ มาตรฐาน แผนการดำเนินงาน และนโยบายของเจ้าของและผู้ประกอบการจัดการสวนปาล์มน้ำมันช่วงผลผลิตลดลง ซึ่งต้องดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง

    (ก) คำแนะนำ

     N/A

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

     1) การจัดการช่วงผลผลิตลดลง เป็นการบริหารจัดการหลังจากปาล์มมีอายุมาก ซึ่งผลผลิตจะค่อยๆ ลดลงตามธรรมชาติ ซึ่งการที่ผลผลิตจะลดลงเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับการจัดการสวนในช่วงที่ 3 ดังนั้นการบริหารจัดการสวนปาล์มในช่วงนี้จึงเน้นการลดต้นทุนการผลิต เช่น การใช้ปุ๋ยให้น้อยลง หรือการทำลายต้นปาล์มที่ให้ผลผลิตน้อย

     2) การใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมัน จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ปาล์มน้ำมันมีผลผลิตสูงสุดอย่างต่อเนื่อง และยังคงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยปาล์มน้ำมันอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป หรือที่ให้ผลผลิตแล้ว ควรให้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและใบปาล์มน้ำมัน ควบคู่กับการสังเกตลักษณะอาการขาดธาตุอาหารที่มองเห็นได้ที่ต้นปาล์มน้ำมัน เพื่อปรับการใส่ปุ๋ยเคมีให้เพิ่มขึ้นหรือน้อยลงตามความเหมาะสม

     3) การตัดแต่งทางใบ เป็นการบริหารจัดการในช่วงที่ปาล์มน้ำมันมีทางใบยาวคลุมพื้นที่ ทำให้มีการซ้อนทับของทางใบ การเก็บทางใบไว้มากเกินไปจะมีผลเสียมากกว่าผลดี เนื้องจากหากมีการบังแสงของใบจะทำให้การสังเคราะห์แสงมีประสิทธิภาพลดลง ดังนั้นจึงควรเก็บรักษาใบปาล์มน้ำมันไว้ในปริมาณที่เหมาะสม โดยทั่วไปควรเก็บทางใบที่รองทะลายไว้ 2-3 ทางใบ

    4) การป้องกันกำจัดศัตรูปาล์มน้ำมัน เป็นการป้องกันกำจัดโรค แมลง และหนูศัตรูปาล์มน้ำมัน 

ที่จะเข้าทำลายหรือทำให้เกิดผลเสียกับราก ลำต้น ใบ ทางใบ ดอก ทะลาย และผลปาล์มน้ำมัน

     5) การวางแผนปลูกทดแทนต้นปาล์มเก่า เมื่อปาล์มน้ำมันมีอายุมากขึ้น ลำต้นก็จะสูงขึ้น ซึ่งยากต่อการเก็บเกี่ยว และให้ผลผลิตลดลง ทำให้ไม่คุ้มต่อการลงทุน จึงมีความจำเป็นต้องปลูกทดแทนต้นปาล์มเก่าหรือปาล์มที่มีอายุมาก โดยต้องมีการวางแผนรูปแบบการปลูกทดแทนและวิธีการทำลายต้นปาล์มเก่า เพื่อสะดวกในการทำงานและบริหารจัดการรายได้จากสวนปาล์มน้ำมันในช่วงนี้

   


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

    1) แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก

    2) แบบประเมินจากปฏิบัติจากการสัมภาษณ์

    3) แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    4) รายละเอียดเครื่องมือประเมินและเกณฑ์การประเมินอยู่ใน คู่มือการประเมินสมรรถนะ

 



ยินดีต้อนรับ