หน่วยสมรรถนะ
ดำเนินการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในบริเวณที่เกิดเหตุ (ไม่ใช่จุดเกิดเหตุ)
สาขาวิชาชีพสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | EVM-ZKHR-204A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ดำเนินการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในบริเวณที่เกิดเหตุ (ไม่ใช่จุดเกิดเหตุ) |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพนักตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินด้านของเสียอุตสาหกรรม |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถดำเนินการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในบริเวณที่เกิดเหตุได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มอาชีพการจัดการของเสียอุตสาหกรรม |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
05102.01 ปฏิบัติตามเอกสารในระดับสูง และวิเคราะห์วิธีสกัดกั้น รวมทั้งการลดความเสี่ยงของชุมชน | 1.ปฏิบัติตามคู่มือการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน (EmergencyResponse Guidebook) และบ่งชี้อันตราย และวิธีการสกัดกั้น | 198431 | |
05102.01 ปฏิบัติตามเอกสารในระดับสูง และวิเคราะห์วิธีสกัดกั้น รวมทั้งการลดความเสี่ยงของชุมชน | 2.ปฏิบัติตามเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (SafetyData Sheet-SDS) และรหัสปฏิบัติการฉุกเฉิน (EmergencyAction Code-EAC) | 198432 | |
05102.01 ปฏิบัติตามเอกสารในระดับสูง และวิเคราะห์วิธีสกัดกั้น รวมทั้งการลดความเสี่ยงของชุมชน | 3.ระบุสมบัติของสารอันตรายและอธิบายระดับการรับสัมผัสสารเคมีที่มีผลต่อความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย | 198433 | |
05102.01 ปฏิบัติตามเอกสารในระดับสูง และวิเคราะห์วิธีสกัดกั้น รวมทั้งการลดความเสี่ยงของชุมชน | 4.ระบุมาตรการในการป้องกัน สกัดกั้นการรั่วไหล ควบคุมการแพร่กระจายและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ | 198434 | |
05102.01 ปฏิบัติตามเอกสารในระดับสูง และวิเคราะห์วิธีสกัดกั้น รวมทั้งการลดความเสี่ยงของชุมชน | 5.ระบุรัศมีอันตรายเพื่อการอพยพ หรือ การหลบภัย (shelter-in-place) ให้แก่พนักงานหรือประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง | 198435 | |
05102.02 ระบุคุณสมบัติและข้อจำกัดของอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในทุกระดับ | 1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในทุกระดับ และรู้ข้อจำกัดของอุปกรณ์และร่างกายของตน | 05102.02.01 | 198436 |
05102.02 ระบุคุณสมบัติและข้อจำกัดของอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในทุกระดับ | 2. เก็บรักษาและดูแลอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลตามคำแนะนำของผู้ผลิตให้มีสภาพพร้อมใช้งานรวมทั้งตรวจสอบสภาพและอายุการใช้งาน | 05102.02.02 | 198437 |
05102.02 ระบุคุณสมบัติและข้อจำกัดของอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในทุกระดับ | 3. ป้องกันตัวเองจากการเกิดภาวะเครียดจากความร้อน (Heat stress) และภาวะฉุกเฉินจากความร้อน (Heat stroke) | 05102.02.03 | 198438 |
05102.03 ตรวจวัดความปนเปื้อนในอากาศด้วยเครื่องมือตรวจวัดภาคสนาม (Field and Direct Reading Air Monitoring Instrument) | 1. ใช้เครื่องมือตรวจวัดความปนเปื้อนในอากาศด้วยเครื่องมือตรวจวัดภาคสนาม | 198439 | |
05102.03 ตรวจวัดความปนเปื้อนในอากาศด้วยเครื่องมือตรวจวัดภาคสนาม (Field and Direct Reading Air Monitoring Instrument) | 2.วิเคราะห์ความเสี่ยง และบ่งชี้อันตรายและระบุมาตรการลดความเสี่ยงจากค่าที่ตรวจวัด | 198440 | |
05102.04 สำรวจพื้นที่และจัดตั้งโซนต่างๆ | 1. ใช้ข้อมูลการตรวจวัดความปนเปื้อนในอากาศและข้อมูลพื้นที่ในการจัดตั้งพื้นที่เขตอันตราย (Hot/Exclusion Zone)เขตลดการปนเปื้อน (Warm/Contamination ReductionZone-CRZ) และ เขตสนับสนุน (Cold/Support Zone) | 198441 | |
05102.05 ดำเนินการเข้าระงับภัยในบริเวณที่เกิดเหตุ (ไม่ใช่จุดเกิดเหตุ) | 1.ดำเนินการป้องกันและสกัดกั้นการรั่วไหลป้องกัน ควบคุมการแพร่กระจายของสารเคมีอันตรายและปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) | 198442 | |
05102.05 ดำเนินการเข้าระงับภัยในบริเวณที่เกิดเหตุ (ไม่ใช่จุดเกิดเหตุ) | 2.ดำเนินการชำระล้างความปนเปื้อนจากตัวนักปฏิบัติการ ผู้ประสบภัยและเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ | 198443 | |
05102.05 ดำเนินการเข้าระงับภัยในบริเวณที่เกิดเหตุ (ไม่ใช่จุดเกิดเหตุ) | 3.กำจัดความปนเปื้อนจากการชำระล้างและของเสียที่รั่วไหล | 198444 | |
05102.06 ปฏิบัติตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System) | 1.ปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับการมอบหมาย ประสานงานและแจ้งข้อมูลตามลำดับขั้นในระบบบัญชาการเหตุการณ์ | 198445 | |
05102.06 ปฏิบัติตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System) | 2. จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน | 198446 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะในการปฏิบัติงานที่ต้องอยู่ในที่แคบ เช่น ในชุดป้องกันสารเคมีที่มีวิสัยการมองเห็นที่จำกัด (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ผ่านการอบรม OSHA 29CFR 1910.120 (HAZWOPER) 40 ชั่วโมง หรือ Hazardous Materials Incident Response Operations (HMIRO; EPA 165.5) หรือ Emergency Response to Hazardous Material Incidents (ERTHMI; EPA 165.15) หรือเทียบเท่า |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
การปฏิบัติงานของผู้มีระดับคุณวุฒิที่ 3 จะเป็นการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินสารเคมีที่เน้นการตั้งรับด้วยการ สกัดกั้น กักกัน กักเก็บ และป้องกันการแพร่กระจายของสารเคมีอันตรายในบริเวณที่เกิดเหตุแต่ไม่ใช่จุดเกิดเหตุไม่ให้ออกไปนอกพื้นที่และสร้างความเสี่ยงต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมินหน่วยสมรรถนะย่อย ปฏิบัติตามเอกสารในระดับสูง และวิเคราะห์วิธีสกัดกั้น รวมทั้งการลดความเสี่ยงของชุมชน |