หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปฏิบัติการยก และเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

สาขาวิชาชีพการบรรเทาสาธารณภัย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ DPM-XQEP-132A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปฏิบัติการยก และเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 2211 แพทย์ทั่วไป
1 2212 แพทย์เฉพาะทาง
1 2221 พยาบาลวิชาชีพ
1 2240 ผู้ช่วยแพทย์
1 3256 ผู้ช่วยด้านการแพทย์
1 3258 ผู้ปฏิบัติงานด้านรถพยาบาล

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่ปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการวิธีการยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในสถานการณ์ต่างๆวิธีการยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อาสาฉุกเฉินการแพทย์ พนักงานฉุกเฉินการแพทย์นักปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๑  

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
103131

ยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในสถานกาณ์ต่างๆ

1.อธิบายกลไกของร่างกายในการยกและเคลื่อนย้ายที่เหมาะสมปลอดภัยได้ 

103131.01 191821
103131

ยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในสถานกาณ์ต่างๆ

2.อธิบายประเภทและหลักการของการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบ Non-urgent 

103131.02 191822
103131

ยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในสถานกาณ์ต่างๆ

3.อธิบายท่าที่ถูกต้องของร่างกายที่ใช้ในการยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบต่างๆ

103131.03 191823
103131

ยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในสถานกาณ์ต่างๆ

4. ใช้อุปกรณ์ช่วยยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบต่างๆ และอธิบายวิธีเลือกใช้ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ได้ 

103131.04 191824
103131

ยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในสถานกาณ์ต่างๆ

5.ปฏิบัติการยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินได้เหมาะสม และป้องกันการเกิดการบาดเจ็บของตนเองได้ 

103131.05 191825
103131

ยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในสถานกาณ์ต่างๆ

6.เคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษได้

103131.06 191826
103132

ยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน

1.อธิบายกลไกของร่างกายในการยกและเคลื่อนย้ายที่เหมาะสมปลอดภัยได้ 

103132.01 191811
103132

ยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน

2.อธิบายประเภทและหลักการของการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบ Emergent, Urgent

103132.02 191812
103132

ยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน

3. อธิบายที่ถูกต้องของร่างกายที่ใช้ในการยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบต่างๆ

103132.03 191813
103132

ยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน

4. ใช้อุปกรณ์ช่วยยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบต่างๆ และอธิบายวิธีเลือกใช้ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ได้ 

103132.04 191814
103132

ยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน

5. ปฏิบัติการยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินได้เหมาะสม และป้องกันการเกิดการบาดเจ็บของตนเองได้ 

103132.05 191815
103132

ยกและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน

6. เคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษได้

103132.06 191816

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ประกาศนียบัตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น



ประกาศนียบัตรการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน



ประกาศนียบัตรอาสาฉุกเฉินการแพทย์



ประกาศนียบัตรพนักงานฉุกเฉินการแพทย์



ประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์



ปริญญาบัตรนักปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน หรือเทียบเท่า


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ทักษะเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินทั่วไป



ทักษะเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินวิกฤต



ทักษะเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินตามกลุ่มอาการโรคในภาวะฉุกเฉินการแพทย์



ทักษะเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินตามกลุ่มอาการโรคในภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

ความรู้เกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินทั่วไป



ความรู้เกณฑ์และวิธีปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินวิกฤต



ความรู้เกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินตามกลุ่มอาการโรคในภาวะฉุกเฉินการแพทย์



ความรู้เกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินตามกลุ่มอาการโรคในภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การ- ปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



          (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



ประกาศนียบัตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น



ประกาศนียบัตรการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน



ประกาศนียบัตรอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์



ประกาศนียบัตรพนักงานฉุกเฉินการแพทย์



ประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์



ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์



ประกาศนียบัตรนักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์



ปริญญาบัตร สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์หรือเทียบเท่า



        (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



หลักสูตรประกาศนียบัตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น



หลักสูตรประกาศนียบัตรการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน



หลักสูตรประกาศนียบัตรอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์



หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานฉุกเฉินการแพทย์



หลักสูตรประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์



หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์



หลักสูตรปริญญา สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์หรือเทียบเท่า


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



ปฏิบัติยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วย โดยเข้าใจระบบกลไกของร่างกายในการยกและเคลื่อนย้ายที่เหมาะสมปลอดภัยประเภทและหลักการของการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบ Non-urgent ท่าที่ถูกต้องของร่างกายที่ใช้ในการยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบต่างๆใช้อุปกรณ์ช่วยยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบต่างๆ และอธิบายวิธีเลือกใช้ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ได้สามารถปฏิบัติการยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินได้เหมาะสม และป้องกันการเกิดการบาดเจ็บของตนเองได้ สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษได้


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1.ทดสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก



 


 



ยินดีต้อนรับ