หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ดูแลและบำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

สาขาวิชาชีพธุรกิจจัดการพื้นที่สีเขียว


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ECM-XTAA-210A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ดูแลและบำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO-08 รหัสอาชีพ 9214 คนงานปลูกพืชสวนและไม้ดอกไม้ประดับ

 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
     เป็นหน่วยสมรรถนะที่ผู้ปฏิบัติงานมีทักษะในการปฏิบัติงานประจำขั้นพื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องมือการเกษตร ต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวงจรการบริหารงานคุณภาพสามารถตรวจสอบสภาพ บำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตรบันทึกเอกสารคลัง และประวัติเครื่องมือการเกษตรหลังนำไปใช้งานรวมทั้งสามารถแก้ปัญหาพื้นฐานที่พบเป็นประจำโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎี เครื่องมือ และข้อมูลพื้นฐานภายใต้การแนะแนวของผู้บังคับบัญชา

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
     ผู้ประกอบอาชีพธุรกิจจัดการพื้นที่สีเขียว

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
03231

ตรวจสอบสภาพเครื่องมือการเกษตรหลังใช้งาน

1.1 อธิบายการจัดเก็บเครื่องมือการเกษตรในบริเวณที่ปลอดภัยได้

03231.01 201465
03231

ตรวจสอบสภาพเครื่องมือการเกษตรหลังใช้งาน

1.2 จัดเก็บเครื่องมือการเกษตรในบริเวณ   ที่ปลอดภัยได้

03231.02 201466
03232

บำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตรหลังใช้งาน

2.1 อธิบายวิธีการบำรุงรักษาเชิงป้องกันได้

03232.01 201467
03232

บำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตรหลังใช้งาน

2.2 อธิบายวิธีการบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ได้

03232.02 201468
03232

บำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตรหลังใช้งาน

2.3 อธิบายวิธีการบำรุงรักษาแบบแก้ไขได้

03232.03 201469
03232

บำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตรหลังใช้งาน

2.4 บำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตรได้

03232.04 201470
03233

จดบันทึกเอกสารคลังเครื่องมือการเกษตรหลังการนำไปใช้งาน

3.1 อธิบายความหมายเรื่องวงจรการบริหารงานคุณภาพได้

03233.01 201471
03233

จดบันทึกเอกสารคลังเครื่องมือการเกษตรหลังการนำไปใช้งาน

3.2 บอกวัตถุประสงค์การบันทึกเอกสารการเก็บรักษาเครื่องมือการเกษตรได้

03233.02 201472
03233

จดบันทึกเอกสารคลังเครื่องมือการเกษตรหลังการนำไปใช้งาน

3.3 อธิบายความหมายของเอกสารการตรวจสอบเครื่องมือการเกษตรประจำปีได้

03233.03 201473
03233

จดบันทึกเอกสารคลังเครื่องมือการเกษตรหลังการนำไปใช้งาน

3.4 บันทึกข้อมูลเอกสารเครื่องมือการเกษตรได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานวงจรการบริหารงานคุณภาพ

03233.04 201474
03234

จดบันทึกประวัติเครื่องมือการเกษตรหลังการนำไปใช้งาน

03235

จัดทำรายงานการใช้เครื่องมือการเกษตรเมื่อเสร็จสิ้นงาน


12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

     1. ทักษะการจดบันทึกเอกสารคลังเครื่องมือการเกษตรโดยการจดบันทึกหรือใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

(ข) ความต้องการด้านความรู้

     1. วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) 

     2. กลุ่มเครื่องมือการเกษตร        

     3. กลุ่มเครื่องจักรกลการเกษตรที่แบ่งประเภท และชนิดตามพิกัดศุลกากร (Harmonized System: HS Code) 

     4. เครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัย 

     5. เอกสารคลังเครื่องมือการเกษตรเครื่องจักรกลทางการเกษตร 

     6. ประวัติเครื่องมือการเกษตร และเครื่องจักรกลทางการเกษตร 

     7. การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance) 

     8. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) 

     9. การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive Maintenance) 

     10. การบำรุงรักษาแบบแก้ไข (Corrective or Breakdown Maintenance) 

     11. มาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 

     12. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

     (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

          1. แฟ้มสะสมผลงาน

     (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

          1.หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานเกี่ยวกับเครื่องมือการเกษตร หรือเครื่องจักรกลทางการเกษตรจากนายจ้าง หรือ

          2. หนังสือรับรองการผ่านการอบรมเกี่ยวกับเครื่องมือ หรือเครื่องจักรกลทางการเกษตร     ซึ่งจัดโดยหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน หรือ

          3. หากไม่มีหลักฐานความรู้ตามข้อ 1 และ 2 ข้างต้น ต้องมีประสบการณ์การทำงานเกี่ยวกับเครื่องมือการเกษตร หรือเครื่องจักรกลทางการเกษตร และสามารถอ่าน เขียน และสื่อสารด้วยภาษาไทยได้

     (ค) คำแนะนำในการประเมิน

          1.ความรู้พื้นฐานและทักษะที่เกี่ยวข้องกับประเภท และชนิดของเครื่องมือการเกษตร

          2. ความรู้พื้นฐานเรื่องวงจรการบริหารงานคุณภาพ

     (ง) วิธีการประเมิน

          1. การประเมินผลความรู้จากการประเมินแบบปรนัย และแบบอัตนัย


15. ขอบเขต (Range Statement)
N/A

16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

     18.1 การประเมินความรู้ด้วยข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือกและข้อสอบอัตนัย



ยินดีต้อนรับ