หน่วยสมรรถนะ
ปฏิบัติงานถ่ายระดับ แนวดิ่ง แนวราบ และแนวฉากได้อย่างถูกต้อง
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้างและการผังเมือง
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | CIP-OMFO-098A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ปฏิบัติงานถ่ายระดับ แนวดิ่ง แนวราบ และแนวฉากได้อย่างถูกต้อง |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
203 สร้าง และติดตั้งไม้โครงสร้าง |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ประกอบติดตั้งโครงเคร่า กรอบประตูกรอบหน้าต่าง บันได ปูพื้นด้วยไม้แข็ง กรุ / บุ วัสดุแผ่น พร้อมตกแต่ง ติดตั้งอุปกรณ์ระหว่างไม้และโลหะ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมก่อสร้าง |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
203321 หาแนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากขอบเขตที่ใช้ในการทำงาน |
1.1 อธิบายใช้เครื่องมือในการหาระดับแนวดิ่งอย่างถูกต้อง |
203321.01 | 194139 |
203321 หาแนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากขอบเขตที่ใช้ในการทำงาน |
1.2 อธิบายใช้เครื่องมือในการหาระดับแนวราบได้อย่างถูกต้อง |
203321.02 | 194140 |
203321 หาแนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากขอบเขตที่ใช้ในการทำงาน |
1.3 อธิบายใช้เครื่องมือในการหาระดับแนวฉากได้อย่างถูกต้อง |
203321.03 | 194141 |
203321 หาแนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากขอบเขตที่ใช้ในการทำงาน |
1.4 อธิบายการใช้เครื่องมือในการวัดระยะได้อย่างถูกต้อง |
203321.04 | 194142 |
203322 ตรวจแนว ระดับ และระนาบของโครงสร้างไม้ได้รูปตามแบบ |
2.1 สามารถหาระดับแนวดิ่งได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
203322.01 | 194143 |
203322 ตรวจแนว ระดับ และระนาบของโครงสร้างไม้ได้รูปตามแบบ |
2.2 สามารถหาแนวราบได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
203322.02 | 194144 |
203322 ตรวจแนว ระดับ และระนาบของโครงสร้างไม้ได้รูปตามแบบ |
2.3 สามารถหาแนวฉาก ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
203322.03 | 194145 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ผู้รับการประเมินสามารถเลือกใช้ ตรวจสอบความบกพร่อง เสียหาย และเตรียมวัสดุต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามแบบรูป รายการที่กำหนด และต้องมีความรู้เกี่ยวกับ วัสดุชนิดต่างๆ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง สำหรับงานไม้โครงสร้าง และสามารถเลือกใช้ชนิดของวัสดุไม้ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้องเหมาะสม กับงานไม้โครงสร้าง ลักษณะงานประเภทต่างๆ |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. เลือกใช้ และเตรียมเครื่องมือพื้นฐาน เครื่องมือกลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. เครื่องมือที่ใช้ในงานช่างไม้โครงสร้าง ลักษณะงานประเภทต่างๆ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) อาทิ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
(ก) เครื่องมือประเมิน เลือกเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะงาน |